ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการส่งเสริมทักษะเพื่อเตรียมความพร้อมสู่การทำงาน
ปีงบประมาณ
2564
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565
SSAP1-08 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่แสดงการบริหารจัดการของหลักสูตรให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active larning
SSAP1-17 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการสร้างสมรรถนะของบัณฑิตเพื่อตอบโจทย์ผู้ประกอบการ
SSAP5-07 โครงการบูรณาการงานกิจกรรมนิสิตกับรายวิชา
SSAP5-11 โครงการเตรียมความพร้อมสู่ตลาดแรงงาน
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
SSAP5-11
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาให้นิสิตมีทักษะและประสบการณ์ทางวิชาการและวิชาชีพ 2. เพื่อบัณฑิตมีคุณลักษณะตามกรอบมาตรฐาน TQF คือมีความรู้ และทักษะปัญญา มีทักษะความสัมพันธ์บุคคล และทักษะทางสังคม อีกทั้งมีคุณธรรมและจริยธรรมเพิ่มมากขึ้น 3. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาให้นิสิตมีทักษะความรู้ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้ทันสมัยทันโลก 4. เพื่อศิษย์เก่าได้ทำประโยชน์ให้แก่สถาบัน โดยนำประสบการณ์การทำงานมาอบรมให้แก่นิสิตปัจจุบัน และเป็นการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน คณาจารย์ และสถาบัน
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
คณาจารย์ นิสิต บุคคลภายนอก
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
ปัญหา-อุปสรรค
เนื่องจากช่วงระยะเวลาการจัดโครงการยังอยู่ในช่สวงเฝ้าระวัง Covid-19 ทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมเพื่อรองรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนมากได้ จึงต้องมีการจำกัดผู้เข้าฟังในห้องประชุมเพียงไม่เกิน 40 ท่าน เพื่อปฏิบัติตามาตรการเฝ้าระวัง Covid-19 ที่เคร่งครัดตามนโยบายของมหาวอทยาลัย ทั้งนี้ทำให้การเลือกสถานที่จัดโคงการจึงต้องเลือกอย่างถี่ถ้วน สามารถเว้นระยะห่างได้อย่างเหมาะสม รวมถึงสามารถอำนวยความสะดวกเรื่องอาหารและเครื่องดื่มสำหรับวิทยากรและผู้เข้าร่วมโครงการได้อย่างปลอดภัย จึงต้องทำเรื่องขอใช้ห้องประชุมของสำนักหอสมุดกลาง มศว เป็นกรณีพิเศษ เพื่อให้ได้สถานที่จัดโครงการที่เหมาะสมในช่วงเวลาเฝ้าระวัง Covid-19 นี้ นอกจากนี้วิทยากรทั้งสามท่านเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางและหาเวลาสะดวกจากงานประจำค่อนข้างยาก ทำให้การเลือกวันจัดโครงการที่ตรงกันระหว่างวิทยากรและนิสิตกลุ่มเป้าหมายจึงใช้เวลาพอสมควรกว่าจะได้วันที่ลงตัว
ข้อเสนอแนะ
การให้ศิษย์เก่ามาบรรยายหรือมีส่วนร่วมในการเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานกับนิสิตปัจจุบันเป็นสิ่งที่ตั้งใจว่าจะคงไว้ เพราะทำให้นิสิตปัจจุบันเห็นความสำเร็จและความหลากหลายในการประกอบอาชีพของสาขาวิชาวรรณกรรมสำหรับเด็ก และเกิดความภาคภูิมใจในสถาบัน และน่าจะยังคงการจัดกิจกรรมแบบผสมผสานระหว่างการจัดในห้องประชุมและการจัดแบบออนไลน์ให้ผู้ที่ไม่สะดวกเข้าฟังในมหาวิทยาลัยได้ร่วมโครงการให้มากขึ้น เพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์เก่าและศิษย์ปัจจุบันให้เข้มแข็งยิ่งขึ้น นอกจากนี้ผู้จัดโครงการจะเลือกหัวข้อการบรรยายที่มีความน่าสนใจและเป็นองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่เป็นประโยชน์และทันสมัยสามารถนำไปประยุกต์ได้จริงให้มากขึ้น เช่น กระบวนการผลิตสื่อสมัยใหม่ในยุดิจิทัล หรือกระบวนการพิมพ์และธุรกิจการพิมพ์รูปแบบใหม่ เป็นต้น รวมถึงจะปรับระยะเวลารวมถึงสถานที่การจัดงานให้เหมาะสมกับหัวข้อการบรรยายและจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อนิสิตจะได้ประโยชน์สูงสุดในการนำไปปรับใช้กับการเรียนและการสร้างสรรค์ผลงานสำหรับเด็กและเยาวชนต่อไป
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
1 เมษายน 2564 15:48