ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการวารสารดิจิทัลสำหรับเด็ก
ปีงบประมาณ
2564
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565
SSAP1-08 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่แสดงการบริหารจัดการของหลักสูตรให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active larning
SSAP1-12 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ Active learning
SSAP1-13 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการประยุกต์ใช้ Digital ในการจัดการเรียนการสอนของอาจารย์
SSAP1-17 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการสร้างสมรรถนะของบัณฑิตเพื่อตอบโจทย์ผู้ประกอบการ
SSAP5-07 โครงการบูรณาการงานกิจกรรมนิสิตกับรายวิชา
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
SSAP1-12
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้นิสิตใช้ทักษะบูรณาการการสร้างเนื้อหา การออกแบบ การผลิตสื่อเพื่อการสร้างเนื้อหาเพื่อเผยแพร่ได้จริงในรูปแบบดิจิทัล 2. เพื่อให้ผลงานของนิสิตได้รับการใช้งานจริง สนองต่อความต้องการในตลาดของกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
วิทยากร อาจารย์ นิสิต
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการวารสารดิจิทัลสำหรับเด็ก จัดขึ้นระหว่างวันที่ 18, 25 มีนาคม 2564 และวันที่ 1 เมษายน 2564 ณ ห้อง 225 (ห้องคอมพิวเตอร์) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยเชิญ คุณณัฏฐิณีย์ แสงงาม มาบรรยาย
ปัญหา-อุปสรรค
จากสถานการณ์โควิด19 ในประเทศไทยทำให้ต้องปรับกำหนดการจัดงานค่อนข้างกระชั้นชิดกันและปรับเปลี่ยนการมอบหมายงานนิสิตให้เข้ากับสถานการณ์ ซึ่งอาจทำให้นิสิตต้องทำงานซับซ้อน และจากช่วงเวลากระชั้นชิด จึงทำให้นิสิตมีเวลาในการทำงานน้อยลงตามที่นิสิตได้แจ้งปัญหา
ข้อเสนอแนะ
เมื่อสถานการณ์ต่างๆ คลี่คลายลงแล้ว สามารถจัดตารางของโครงการได้อย่างอิสระ ในครั้งหน้าจะทำการปรับแผนตารางในการเรียนรู้ทักษะควบคู่ไปกับการมอบหมายงานให้มีช่วงเวลาในการทำงานได้มากขึ้น เช่น วอทยากรมาเว้นระยะห่าง 1 สัปดาห์ เพื่อให้นิสิตมีเวลาในการทำงานได้เต็มที่ และไม่กระชั้นชิด รวมทั้งเพิ่มเติมโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่นิสิตต้องการ
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
21 มิถุนายน 2564 14:25