ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
เส้นทางสู่นักเขียนรุ่นใหม่ รุ่นที่ 4
ปีงบประมาณ
2564
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565
SSAP5-05 โครงการพัฒนาทักษะการสื่อสารให้กับนิสิต
SSAP5-07 โครงการบูรณาการงานกิจกรรมนิสิตกับรายวิชา
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
SSAP5-05
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และทักษะการเขียนสารคดีเชิงสร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.เพื่อเสริมสร้างทักษะการสร้างผลงานการเขียนสารคดีเชิงสร้างสรรค์ของนิสิต และนำไปเผยแพร่ในช่องทางประชาสัมพันธ์ต่างๆของคณะมนุษยศาสตร์
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
คณาจารย์ บุคลากร นิสิต
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
ฝ่ายพัฒฯาศักยภาพนิสิตและเครือข่ายศิษย์เก่า คณะมนุษยศาสตร์ ได้จัดโครงการเส้นทางสู่นักเขียน รุ่นที่ 4 ให้แก่นิสิตคณะมนุษยศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะสื่อสารด้านการเขียนซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญที่ใช้ในชีวิตประจำวัน และนิสิตสามารถต่อยอดไปใช้ในการประกอบอาชีพได้ การจัดโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้แก่นิสิตที่ผ่านการคัดเลือกสามารถพัฒนาทักษะการสื่อสารด้านการเขียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยหัวข้อการพัฒนาการเขียนเชิงสร้างสรรค์ในครั้งนี้เป็นประเภท "การเขียนสารคดี สารคดีแห่งชีวิต...ชีวิตแห่งสารคดี" ซึ่งจัดอบรมเป็นเวลา 3 วัน ณ สมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรระดับประเทศทั้งศิลปินแห่งชาติ นักเขียนสารคดีมืออาชีพ และนักเขียนรางวัลซีไรต์ วิทยากรให้ผู้เข้าร่วมโครงการทดลองการเขียนสารคดี จากนั้นขึงเป็นกิจกรรมวิจารณ์ผลงานผู้เข้าร่วมโครงการอย่างละเอียดเพื่อจะได้นำข้อเสนอแนะไปปรับปรุงผลงานและปรับใช้ได้จริงในการศึกษาและการทำงานต่อไป ซึ่งถือเป็นประสบการณ์ที่ดีที่นิสิตจะได้รับทั้งความรู้และพัฒนาทักษะด้านการเขียนจากการอบรมเชิงปฏิบัติการ
ปัญหา-อุปสรรค
ควรมีการประชุมนิสิตก่อนเข้าอบรม เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์การจัดโครงการให้นิสิตเข้าใจมากยิ่งขึ้น นิสิตจะได้มีแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานและตระหนักถึงความสำคัญของการเข้าอบรมในหัวข้อ "การเขียนสารคดี" ซึ่งเป็นหัวข้อการเขียนสร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันและการทำงานของนิสิตมากที่สุด นิสิตจะได้นำไปพัฒนาตนเองและสร้างสรรค์ผลงานที่น่าสนใจ ทันสมัย ถูกต้อง และเหมาะสมกับบริบทสังคมในยุคปัจจุบันเพื่อรองรับการทำงานในอนาคตต่อไปให้มากขึ้นได้
ข้อเสนอแนะ
อาจปรับกำหนดช่วงเวลาและการเตรียมงานโครงการให้มีความเหมาะสมมากขึ้น เพื่อให้การประสานงานระหว่างนิสิตและคณาจารย์เป็นไปอย่างราบรื่น สามารถลดข้อจำกัดด้านระยะเวลาเพื่อให้นิสิตที่สนใจที่จะเข้าร่วมโครงการมีโอกาสและสะดวกในการเข้าร่วมโครงการได้มากขึ้น รวมถึงปรับความหลากหลายของการจัดกิจกรรม โดยเน้นการฝึกปฏิบัติและการวิพากษ์วิจารณ์ผลงานให้มากยิ่งขึ้น รวมถึงสถานที่ในการจัดกิจกรรม
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
29 ธันวาคม 2563 11:16