ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการภูมิปัญญาไทยในวรรณกรรมสำหรับเด็ก
ปีงบประมาณ
2560
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2563
SSAP5-28 โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
SSAP5-28
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้บุคลากรและนิสิตมีความตระหนักและซาบซึ้งในคุณค่าของวัฒนธรรมและศิลปะอันดีงามของไทย 2. เพื่อบูรณการกับการเรียนการสอนในรายวิชา วด 341 สัมมนาวรรณกรรมสำหรับเด็ก วด 335 วารสารสำหรับเด็ก และ วด 451 ภาคนิพนธ์ทางวรรณกรรมสำหรับเด็ก และเพื่อบูรณาการกับการพัฒนาศักยภาพนิสิตให้มีประสบการณ์ทักษะ เตรียมความพร้อมในการทำงานเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรมไทย 3. เพื่อสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมและศิลปะไทยให้มีความยั่งยืนสืบไป
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิตหลักสูตร ศศ.บ. วรรณกรรมสำหรับเด็ก
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการนี้มีรูปแบบกิจกรรมที่ช่วยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักในคุณค่าของศิลปะ และวัฒนธรรมไทยโดยแบ่งรูปแบบกิจกรรมเป็น 2 วัน ได้แก่ ครั้งที่ 1 ในวันที่ 23 มีนาคม 2560 คณาจารย์และวิทยากรจัดทัศนศึกษาพานิสิตไปศึกษาภูมิปัญญา ศิลปะและขนบธรรมเนียมไทยที่วัดพระปฐมเจดีย์ และพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม ครั้งที่ 2 ในวันที่ 30 มีนาคม 2560 เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านสังคมวิทยาและมานุษวิทยามาให้ความรู้และแลกเปลี่ยนประสบการณ์เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่น การชื่อบ้านนามเมือง การเข้าใจความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรม
ปัญหา-อุปสรรค
- สภาพอากาศไม่ค่อยเอื้อต่อการจัดกิจกรรมทัศนศึกษาเท่าไร - นิสิตไม่ตรงต่อเวลา ทำให้กำหนดการล่าช้า - ควรบริหารเวลาและขยายเวลาให้เหมาะสมและชัดเจนกว่านี้
ข้อเสนอแนะ
สิ่งที่น่าชื่นชม - อยากรู้เรื่องภูมิปัญญาของชาวบ้านชนพื้นถิ่นมากกว่านี้ อยากรู้เรื่องการย้อมผ้าครามดำของนครปฐม - ควรให้เวลาในการศึกษาแต่ล่ะสถานที่ให้กระชับมากกว่านี้ - สนุก วิทยากรข้อมูลแน่นมาก ให้ความรู้ได้สมบูรณ์ เล่าสนุก ไม่น่าเบื่อ - สถานที่จัดโครงการน่าสนใจมาก และวิทยากรให้ความรู้ได้อย่างหลากหลายและลึกซึ้งมาก และความรู้ที่ได้รับเป็นประโยชน์มาก - อยากให้มีจัดทริปไปสถานที่อื่นๆ อีก เพราะได้ความรู้มาก - วันนี้ได้ความรู้เยอะมาก มีอะไรอีกหลายอย่างที่เคยรู้แต่เข้าใจผิดมาตลอด ได้มารู้วันนี้มีเหมือนกัน อากาศร้อนไปหน่อยเลยมีเวียนหัวบ้างเป็นบางช่วง - วิทยากรให้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ดีมาก ขอให้มีกิจกรรมนี้ในปีต่อๆ ไปอีก เพราะคิดว่าความรู้ที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อนิสิตในรุ่นต่อๆ ไป - ความรู้ที่อาจารย์นำมาเล่าน่าสนใจมากค่ะ เป็นประโยชน์ต่อการนำไปประยุกต์ใช้ และเป็นความรู้รอบตัวมากค่ะ - อยากเรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาท้องถิ่นมากกว่านี้ เช่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ในช่วงของการทัศนศึกษา - อยากให้เพิ่มเวลาในการจัดอบรมค่ะ แต่เนื่องด้วยเวลาที่จำกัด ก็ได้ความรู้มากพอแล้วค่ะ สนุกมากค่ะ คิดว่าสามารถนำความรู้ส่วนนี้ไปต่อยอดได้ค่ะ สิ่งที่ควรแก้ไขปรับปรุง - อยากให้บริหารเวลาให้ดีกว่านี้ ได้ความรู้ใหม่ๆเยอะมาก แต่อยากให้วิทยากรบริหารเวลาหน่อย - ได้ความรู้มากมายจากการทัศนศึกษาครั้งนี้มาก แต่เลิกช้าไปหน่อย อยากดูสถานที่มากกว่านี้ วิทยากรมีความรู้มาก แต่อยากให้ช่วยย่อให้กระชับ เพราะความรู้เยอะ นิสิตจำไม่ค่อยได้ - อยากให้มีเวลามากกว่านี้ - เวลาจัดกิจกรรมน้อยไปหน่อย
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
6 กรกฎาคม 2560 15:51