ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย
ปีงบประมาณ
2560
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2563
SSAP5-28 โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
SSAP5-28
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นิสิตตระหนักถึงคุณค่าศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญที่เกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี 2.เพื่อให้นิสิตสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้รับมาใช้ในการทำความเข้าใจวัฒนธรรมตะวันออก
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
- นิสิตหลักสูตร ศศ.บ. สาขาวิชาภาษาเพื่ออาชีพ (หลักสูตรนานาชาติ) ชั้นปีที่ 2 - บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย จัดทำขึ้นเพื่อให้นิสิตตระหนักถึงคุณค่าศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญที่ชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี โดยบูรณาการกับรายวิชาในระดับปริญญาตรี ELC 234 English for Organization Communication เพื่อให้นิสิตสามารถบูรณาการความรู้ที่ได้มาใช้ในการทำความเข้าใจวัฒนธรรมตะวันออกโดยนิสิตที่เข้าร่วมโครงการมีทั้งหมด 64 คน คณาจารย์ 9 คน และเจ้าหน้าที่ 2 คน ในการการดำเนินงานขั้นแรกหลักสูตรฯ ได้ทำการติดต่อไปยังการท่องเที่ยวเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี เพื่อขอคำแนะนำในการศึกษา ศิลปะและวัฒนธรรมภายในเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี และได้รับการอนุเคราะห์จาก อบต.จังหวัดนนทบุรี บริการเรือนำเที่ยวภายในเกาะเกร็ด โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย ในการศึกษาครั้งนี้ คณาจารย์และนิสิตได้เรียนรู้คุณค่าศิลปวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์มอญที่ชุมชนเกาะเกร็ด จังหวัดนนทบุรี จากการเยี่ยมชมงานหัตศิลป์ การทำเครื่องปั้นดินเผา แหล่งอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน สถาปัตยกรรมโบราณ การทำขนมไทยโบราณ ณ บ้านขนมไทย รวมถึงศึกษาดูงานอุตสาหกรรม OTOP ด้วยเทคนิคการถ่ายทอดความรู้ผ่านวิถีชุมชนเกาะเกร็ด
ปัญหา-อุปสรรค
ข้อเสนอแนะ
สิ่งที่น่าชื่นชม/ประทับใจในการจัดโครงการครั้งนี้ 1. วิทยากรให้ความรู้ดี 2. การเดินทางใช้เวลาไม่นาน 3. ได้รับความรู้ขากวิทยากรที่มาบรรยาย 4. ทุกคนให้ความร่วมมือดี อาหารอร่อย 5. ได้เรียนรู้ในวัฒนธรรมไทยสมัยโบราณและได้เรียนรู้ความเป็นมาของชุมชนชาวมอญบริเวณเกราะเกร็ด 6. ตระหนักถึงศิลปะวัฒนธรรมไทยมากขึ้น 7. ชอบการทำเครื่องปั้นดินเผา 8. รถบัสแอร์เย็น 9. ประทับใจอาจารย์ทุกท่านเต็มที่มาก สิ่งที่ควรปรับปรุง/พัฒนาในการจัดโครงการในปีถัดไป 1. ควรจัดโครงการฯ ให้นิสิตไปช่วงเวลาที่มีสถาพอากาศดีกว่านี้ 2. ช่วงเวลาที่ไป ไม่ใช่วันหยุดทำให้ไม่มีร้านเปิด 3. อยากให้วิทยากรอธิบายเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆลงไป 4. ไม่ควรจัดกิจกรรมตอนหน้าร้อน 5. อยากใช้เวลาในแต่ละสถานที่มากกว่านี้ ไม่อยากให้เร่งรัด 6. ควรมีการชี้แจงรายละเอียดการไปครั้งนี้ให้มากขึ้น 7. ควรพาไปที่อื่นๆ ที่มีการพัฒนาดีกว่านี้ 8. ร้อนมากและจากที่คิดว่าจะได้ไปทำกิจกรรมที่จัดอย่างมีขั้นตอนกลับกลายเป็นเหมือนวัดเป็นทางเดินผ่าน 9. รสชาติอาหารควรอร่อยกว่านี้ 10. ปรับปรุงความสะอาดของน้ำและอาหาร
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
6 กรกฎาคม 2560 09:40