ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการพัฒนาทักษะการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างชาญฉลาด
ปีงบประมาณ
2568
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-13 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active learning
P1-32 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
P1-37 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ/ภาคเอกชนที่ร่วมกิจกรรมแนะแนว/การประกอบอาชีพของนิสิต
P1-38 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม/แนะแนว/การประกอบอาชีพสำหรับนิสิต
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-32
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อเสริมสร้างองค์ความรู้และพัฒนาทักษะของนิสิตด้านการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ชาญฉลาด รวมถึงการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลและเครื่องมือสมัยใหม่สำหรับการนำเสนอข้อมูลด้วยภาพ (Data Visualization) โดยเว็บแอปพลิเคชัน 2 เพื่อให้นิสิตเข้าใจกระบวนการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง 3 เพื่อพัฒนาทักษะของนิสิตด้านการออกแบบ UX/UI ที่เหมาะสมการเชื่อมต่อกับฐานข้อมูล การพัฒนา API และแนวคิดของ สถาปัตยกรรมแบบ Microservices การออกแบบภาพข้อมูลเชิงโต้ตอบ (Interactive Visualization) ที่สามารถสนับสนุน การตัดสินใจ และเพิ่มความน่าเชื่อถือในการนาเสนอผลการวิเคราะห์เชิงวิชาการ
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
บุคลากรสายวิชาการ นิสิตระดับปริญญาตรี หลักสูตรศศ.ม.สารสนเทศศึกษา - ชั้นปีที่ 1 - ชั้นปีที่ 2 - ชั้นปีที่ 3 วิทยากรภายนอก
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการพัฒนาทักษะการวิเคราะห์และนำเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างชาญฉลาด ได้จัดกิจกรรมในรูปแบบการบรรยายและอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างครบถ้วน ภายใต้หัวข้อสำคัญ ได้แก่ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวิทยาการข้อมูลและประเภทของเว็บแอปพลิเคชัน เช่น Static, Dynamic, SPA, PWA และ Microservices พร้อมวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียต่าง ๆ นิสิตได้รับการบรรยายเกี่ยวกับเทคโนโลยีเว็บแอปพลิเคชันพื้นฐาน รวมถึงโครงสร้าง HTML, CSS, JavaScript, PHP, Node.js, REST API และฐานข้อมูล และเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อฝึกเขียนโปรแกรม PHP เบื้องต้น การรับข้อมูลผ่านฟอร์มและแสดงผล ต่อเนื่องด้วยการอบรมเชิงปฏิบัติการการวิเคราะห์และออกแบบ UX/UI ด้วย W3.CSS การสร้างเลย์เอาต์และฟอร์ม ที่ตอบสนอง รวมถึงการเชื่อมต่อฐานข้อมูลและการสร้างฟังก์ชัน CRUD ด้วย PHP และ MySQL นอกจากนี้นิสิตได้ฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการขั้นสูงในการสร้าง REST API ด้วย Node.js และ Express.js การแสดงผลข้อมูลด้วยกราฟผ่าน Chart.js หรือ Google Charts และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม Microservices รวมทั้งการนาเสนอข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างชาญฉลาดผ่านการออกแบบกราฟิกและการใช้เครื่องมือต่าง ๆ เพื่อเสริมสร้างทักษะการสื่อสารข้อมูลอย่างมีประสิทธิผล การจัดกิจกรรมในรูปแบบบรรยายควบคู่กับอบรมเชิงปฏิบัติการนี้ช่วยให้นิสิตมีความรู้และทักษะที่เป็นระบบ พร้อมสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันและการวิเคราะห์รวมถึงการนำเสนอข้อมูลในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ จะนำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น และจะนำเสนอรายละเอียดการจัดโครงการสาหรับนำไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนไว้ใน มคอ. 5 ของรายวิชา สศ521 เทคโนโลยีเพื่อการจัดการสารสนเทศ ประจาภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2567 และ/หรือจะนำไปพัฒนา มคอ. 3 ของรายวิชา สศ521 เทคโนโลยีเพื่อการจัดการสารสนเทศ ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2568
ปัญหา-อุปสรรค
ไม่มี
ข้อเสนอแนะ
- กำหนดกลวิธีเพื่อให้นิสิตตอบแบบประเมินได้ตามจำนวนที่ตั้งไว้ - วางแผนการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นิสิตได้มีประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการมากขึ้น โดยเฉพาะเกี่ยวกับวิชาชีพบรรณารักษ์ในยุคดิจิทัลที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีอยู่เสมอ, หัวข้อถัดไป การพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน, การรู้ทันภัยคุกคามทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ, การประยุกต์ใช้ AI ในงานด้านต่าง ๆ
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16507
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
9 กรกฎาคม 2568 08:58