ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการการสร้างสื่อเพื่อบรรลุผลการเรียนรู้รายชั้นปี
ปีงบประมาณ
2568
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-01 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรนานาชาติ
P1-32 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-32
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อให้แนวทางในการผลิตสื่อที่สะท้อนผลลัพธ์การเรียนรู้ของนิสิตหลักสูตรภาษาเพื่อการสื่อสารในแต่ละชั้นปี 2 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการผลิตสื่อที่มีคุณภาพ ตั้งแต่การวางแผน การพัฒนาเนื้อหา ไปจนถึงการนาเสนอ 3 นาผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
บุคลากร นิสิต วิทยากร
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการนี้จัดกิจกรรมในรูปแบบการบรรยายและมีกิจกรรมเพื่อฝึกปฏิบัติสาหรับนิสิตชั้นปีที่ 13 ในหลักสูตรภาษาเพื่อการสื่อสารโดยแบ่งกิจกรรมตามระดับชั้นปีเพื่อให้เหมาะสมกับระดับผลลัพธ์การเรียนรู้ (YLOs) ที่แตกต่างกัน ได้แก่: การบรรยาย โดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเพื่อถ่ายทอดแนวคิด เทคนิค และกระบวนการสร้างสื่อที่มีประสิทธิภาพ เช่น เทคนิคการเล่าเรื่อง เทคนิคการใช้สื่อในบริบทพหุวัฒนธรรม และเทคนิคการนำเสนอ กิจกรรมฝึกปฏิบัติ เปิดโอกาสให้นิสิตได้ฝึกฝนการออกแบบเนื้อหา จัดโครงสร้าง และนาเสนอผลงานในรูปแบบของสื่อดิจิทัลที่สะท้อนผลลัพธ์การเรียนรู้ตามระดับชั้นปีของตนเอง การประเมินก่อนและหลังการอบรม เพื่อวัดพัฒนาการความเข้าใจ และการใช้รูบริคประเมินผลงานจริงของนิสิตตามเกณฑ์ที่สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้รายชั้นปี
ปัญหา-อุปสรรค
ความหลากหลายของระดับชั้นปีของนิสิตผู้เข้าร่วม ก่อให้เกิดความท้าทายในการออกแบบกิจกรรมให้สอดคล้องกับผลลัพธ์การเรียนรู้รายชั้นปี โดยต้องใช้ความละเอียดในการแยกเนื้อหาและจัดกลุ่มนิสิตให้เหมาะสม
ข้อเสนอแนะ
อัปเดตวิธีการสร้างสื่อให้ทันสมัยและสอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เสนอให้มีการนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการอบรม เช่น การใช้เครื่องมือ AI ด้านการออกแบบ การตัดต่อวิดีโอแบบออนไลน์ (เช่น Canva, CapCut, Adobe Express) หรือแพลตฟอร์ม สร้างอินโฟกราฟิกแบบอินเตอร์แอคทีฟเพื่อให้นิสิตสามารถสร้างสื่อที่ดึงดูดความสนใจผู้ชม และสามารถใช้ได้จริงทั้งในเชิงวิชาการและวิชาชีพ นอกจากนี้ ควรมีการเสริมกิจกรรมให้สอดคล้องกับแนวโน้มโลก เช่น การสื่อสารแบบ cross-cultural ผ่านสื่อดิจิทัล หรือการเล่าเรื่องในโลกออนไลน์ เพื่อให้นิสิตเตรียมพร้อมรับมือกับสภาพแวดล้อมการทางานที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16507
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
6 พฤษภาคม 2568 11:07