ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการเรื่องเล่าสัญจร : มนุษย์กับการพัฒนาที่ยั่งยืน
ปีงบประมาณ
2568
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-13 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active learning
P1-32 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-32
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นิสิตเกิดความตระหนักถึงความสำคัญของวรรณคดี คติชน และภูมิปัญญาในฐานะทุนทางวัฒนธรรม 2. เพื่อให้นิสิตมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง วรรณคดี คติชน และภูมิปัญญากับบริบททางสังคมไทย และสามารถนำความรู้มาบูรณาการสร้างสรรค์สื่อ และโมเดลสินค้าทาง วัฒนธรรมให้เหมาะสมกับบริบทสังคมโลกาภิวัตน์ การท่องเที่ยว และบริบทเศรษฐกิจสร้างสรรค์ 3. นำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
บุคลากรสายวิชาการ นิสิต วิทยากร
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
วันที่ 27 มีนาคม 2568 นิสิตฟังบรรยายจากวิทยากร พร้อมทั้งรับฟังข้อเสนอแนะจากวิทยากรในการสร้างสรรค์สินค้าทางวัฒนธรรม วันที่ 28 มีนาคม 2568 นิสิตศึกษาดูงานที่ตลาดโอ๊ะป่อย อำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี โดยมีวิทยากรบรรยาย หลังจากนั้นนิสิตส่งมอบโมเดลสินค้าทางวัฒนธรรมให้กับชุมขน เมื่อเสร็จสิ้นโครงการแล้ว นิสิตสามารถนำความรู้และประสบการณ์จากการเข้าร่วมโครงการไปประยุกต์ใช้ในการเรียนรายวิชา ทย337 วรรณคดีกับการท่องเที่ยว ทย344 คติชนวิทยา ทย446 ภูมิปัญญาในภาษาและวรรณคดีไทย ดังนี้ - รายวิชา ทย337 วรรณคดีกับการท่องเที่ยว นิสิตได้ทดลองการเป็นผู้นาเที่ยว ตั้งแต่การวางแผนการเที่ยว การจัดสรรเวลา อาหาร ที่นั่ง ที่พัก ทำให้เห็นความสำคัญของเรื่องเล่าซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในวรรณคดีที่สามารถนามาประยุกต์เป็นการท่องเที่ยวได้ - รายวิชา ทย344 คติชนวิทยา นิสิตสามารถเชื่อมโยงแนวคิดคติชนสร้างสรรค์ที่มีการนำวัฒนธรรม ประเพณี หรือข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ มาสร้างสรรค์ ผลิตซ้า ปรับประยุกต์เพื่อให้สอดรับกับบริบทสังคมโลกาภิวัตน์ การท่องเที่ยว และเศรษฐกิจสร้างสรรค์ - รายวิชา ทย446 ภูมิปัญญาในภาษาและวรรณคดีไทย นิสิตสามารถตระหนักความสำคัญของภูมิปัญญาว่าสามารถเป็นทุนทางวัฒนธรรมที่ชาวบ้านนำมาต่อยอดให้กลายเป็นสินค้าได้ แม้ว่าวัตถุประสงค์ของภูมิปัญญาจะเปลี่ยนแปลงไปแต่ก็ทาให้เห็นคุณค่าของภูมิปัญญาที่มนุษย์รู้จักนามาปรับใช้เพื่อตอบสนองวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปได้
ปัญหา-อุปสรรค
ระยะเวลาในการจัดโครงการสั้นเกินไป ควรขยายเวลาเพื่อให้นิสิตได้มีเวลาแก้ไขตัวโมเดลสินค้า หลังจากได้รับความรู้ คำวิจารณ์จากชุมชน และข้อเสนอแนะจากวิทยากร
ข้อเสนอแนะ
ขยายเวลาในการจัดโครงการจาก 2 วัน 1 คืน เป็น 3 วัน 2 คืน
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16507
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
10 เมษายน 2568 14:03