ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการนิทานแสนสุขสู่เด็กแสนรัก
ปีงบประมาณ
2568
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P3-01 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการบริการวิชาการเพื่อสังคมและโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและ/หรือเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ตามหลัก University Social Engagement
P3-06 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพเด็กและเยาวชนตามความถนัดและความสามารถของพหุปัญญา 9 ด้าน มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และมีความรอบรู้ด้านสุขภาวะองค์รวม
P3-14 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง กับการพัฒนาทักษะบุคลากรด้านการบริหาร และประเมินโครงการ (SIA และ SROI)
P3-18 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการบูรณาการการบริการวิชาการเพื่อสังคมแบบบูรณาการข้ามศาสตร์
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P3-06
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อพัฒนาเทคนิคของครูที่ดูแลเด็กในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านให้กับเด็กพิเศษ 2 เพื่อพัฒนาปฏิสัมพันธ์ทางสังคมให้แก่เด็กพิเศษผ่านการร้อง เล่น เล่านิทาน
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
คณาจารย์ เด็กและคุณครูบ้านเฟื่องฟ้า
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
การปฏิบัติการ จัดกิจกรรมการเล่านิทานแบบโต้ตอบ (Interactive Storytelling) เพื่อส่งเสริมปฏิสัมพันธ์และการตอบสนองของเด็ก ใช้สื่อช่วยเล่า (Visual Aids) และเทคนิคการเล่านิทานเชิงสร้างสรรค์ (Creative Storytelling) เพื่อกระตุ้นความสนใจ ครูผู้ดูแลเด็กพิเศษมีส่วนร่วมในการสังเกตการณ์และบันทึกพฤติกรรมของเด็ก การเสวนาและแลกเปลี่ยนแนวคิด ครูผู้ดูแลเด็กพิเศษมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับเทคนิคการเล่านิทาน ประชุมกรรมการจัดโครงการเพื่อสรุปผลและวิเคราะห์แนวทางปรับปรุงกิจกรรมในอนาคตการประเมินผลและพัฒนาแนวทางการเรียนรู้ สังเกตพฤติกรรมและเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการตอบสนองของเด็กตลอดระยะเวลาการจัดกิจกรรม สัมภาษณ์ครูเพื่อประเมินความเปลี่ยนแปลงด้านทักษะและแนวทางการสอนที่ได้รับจากโครงการ
ปัญหา-อุปสรรค
- เด็กบางคนมีความเปราะบางมากทาให้การมีปฏิสัมพันธ์เป็นไปได้ยาก - เด็กมีข้อจากัดทางกายภาพและสติปัญญาต่างกันมาก
ข้อเสนอแนะ
- เปลี่ยนนิทานที่มีรูปภาพที่สอดคล้องกับวัฒธรรมและพัฒนาการของเด็กให้มากขึ้น - เพิ่มเทคนิคการถาม-ตอบเพื่อดึงดูดความสนใจ - พูดคุยกับเด็กนอกเหนือจากการเล่านิทานให้มากขึ้นเพื่อสร้างความสนิทสนมกับเด็กก่อนเริ่มเล่านิทาน
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16507
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
9 เมษายน 2568 14:45