ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการ Global Collaboration for Global Citizenship Promotion
ปีงบประมาณ
2568
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-26 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับความร่วมมือระดับนานาชาติ
P1-29 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับส่งเสริมให้เกิดการประชาสัมพันธ์ภาพลักษณ์เชิงรุกในระดับนานาชาติ
P1-32 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
P2-05 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดทำแผนการขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นเลิศตามเป้าหมายที่กำหนด
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-26
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อให้นิสิตได้รับความรู้เกี่ยวกับทักษะความเป็นผู้นาและทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศในระดับนานาชาติภายใต้การเป็นพลเมืองโลกดิจิทัล (Digital Global Citizenship) 2 เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมในบริบทการเป็นพลเมืองโลกดิจิทัลผ่านการบรรยายโดยวิทยากรชาวต่างประเทศในองค์กรระดับนานาชาติ
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
บุคลากรสานวิชาการ นิสิตคณะมนุษยศาสตร์ วิทยากร บุคลากรสายปฏิบัติการ บุคคลภายนอก
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการ Global Collaboration for Global Citizenship Promotion จัดกิจกรรมในรูปแบบการบรรยายให้ความรู้เกี่ยวกับทักษะความเป็นผู้นาและทักษะการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมโดยการใช้ภาษาต่างประเทศ และกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ข้ามวัฒนธรรมร่วมกับวิทยากรชาวต่างประเทศจากองค์กรระดับนานาชาติภายใต้การเป็นพลเมืองโลกดิจิทัล (Digital Global Citizenship) ผ่านการทาเวิร์กชอป
ปัญหา-อุปสรรค
การจัดโครงการในลักษณะนานาชาติที่มีการเชิญวิทยากรจากหลายองค์กร และการดึงดูดผู้ฟังที่เป็น generation ใหม่ เป็นความท้าทายที่ต้องพัฒนาและพยายามปรับปรุงเพื่อการจัดงานในลักษณะดังกล่าวที่ดีขึ้น เป็นช่วงวันที่ผู้เข้าร่วมและแขกรับเชิญสามารถมาร่วมงานได้สะดวก และผู้ฟังยังคงให้ความเห็นว่าได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมงาน
ข้อเสนอแนะ
จากการตอบแบบสอบถามของผู้เข้าร่วมงานพบว่า ผู้เข้าร่วมงานอยากให้วิทยากรและแขกรับเชิญที่มาเป็น influencers ด้วยดังนั้น ในการจัดงานครั้งต่อไป จะต้องมีการ list candidates ที่มีความหลากหลายในสาขาอื่น ๆ ให้มากขึ้นตามข้อเสนอแนะ
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16507
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
11 มีนาคม 2568 11:25