ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการมนุษย์เติมใจ
ปีงบประมาณ
2568
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-13 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active learning
P1-32 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
P1-35 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการสนับสนุนและเสริมสร้างนิสิตจิตอาสา และส่งเสริมให้นิสิตบูรณาการองค์ความรู้สู่การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์แก่สังคม
P1-38 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม/แนะแนว/การประกอบอาชีพสำหรับนิสิต
P1-46 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพจิตโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อส่งเสริมด้านการปรับตัว การจัดการความเครียดและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
P1-47 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและสร้างเครือข่ายอาจารย์ บุคลากรและนิสิตของแต่ละส่วนงานให้มีทักษะการให้คำปรึกษาและคัดกรองสุขภาพจิตเบื้องต้นเพื่อร่วมพัฒนาสุขภาวะนิสิต
P1-48 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการให้คำปรึกษา การคัดกรอง การกำกับติดตามและการให้ความช่วยเหลือนิสิตที่มีความต้องการการดูแลทางสุขภาพจิต
P3-02 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาวะองค์รวม (กาย/ใจ/ปัญญา/สังคม) ตามแผนแม่บทมหาวิทยาลัยเพื่อสังคม
P3-04 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะทางใจและการบริการให้คำปรึกษาปัญหาด้านสุขภาวะทางใจ
P3-15 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการบูรณาการการบริการวิชาการเพื่อสังคมและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมร่วมกับการเรียนการสอน
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-46
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อดูแลจิตใจอาจารย์และบุคลากรของคณะมนุษยศาสตร์ 2 เพื่อพัฒนาคุณลักษณะและทักษะการปรับตัวแก่ให้นิสิตระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะมนุษยศาสตร์
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิตชั้นปีที่ 1-3
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการมนุษย์เติมใจ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่และดูแลจิตใจของอาจารย์และบุคลากร รวมไปถึงการส่งเสริมคุณลักษณะและทักษะที่จาเป็นต่อการปรับตัวของนิสิตชั้นปีที่ 1 และ 2 ของคณะมนุษยศาสตร์ โดยกิจกรรมจะจัดเป็นสองระยะ ในระยะที่หนึ่งจะดาเนินโดยอาจารย์ผู้เป็นหัวหน้าโครงการ เพื่อเป็นการเปิดพื้นที่แห่งการดูแลจิตใจให้แก่อาจารย์และบุคลากร โดยการทาเป็นรูปแบบของการสนทนากลุ่มตามรูปแบบของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาที่มีเป้าหมายเพื่อเป็นพื้นที่ปลอดภัยให้อาจารย์และบุคลากร ซึ่งเป็นส่วนสาคัญในการดูแลนิสิตของคณะ ได้มาพูดคุยแบ่งปันความรู้สึก รวมไปถึงเป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูลสถานการณ์และแนวทางในการดูแลตนเองและนิสิต และในระยะที่สองจะเป็นการจัดกิจกรรมตามแนวคิดจิตวิทยาของนิสิตจิตวิทยา ชั้นปีที่ 3 ที่ได้เรียนในรายวิชา PG342 เพื่อพัฒนาคุณลักษณะและทักษะที่จาเป็นในการปรับตัวของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ ชั้นปีที่ 1 2 เพื่อเอื้อเฟื้อให้เกิดการปรับตัวที่เหมาะสมและสามารถเติบโตในรั้วมหาวิทยาลัยได้อย่างเต็มศักยภาพ ซึ่งจัดกิจกรรมทั้งหมด 5 ครั้ง โดยมีการออกแบบกิจกรรมแต่ละครั้งแตกต่างกันไป และมี การรับสมัครนิสิตมาเข้าร่วมกิจกรรมโดยไม่ซ้ากัน
ปัญหา-อุปสรรค
- คณาจารย์ที่สนใจเข้าร่วมกิจกรรมระยะที่ 1 หลายท่านมีเวลาว่างไม่ตรงกัน ทำให้จำนวนกลุ่มเป้าหมายในส่วนของบุคลากรสายวิชาการและสายปฏิบัติการมีจำนวนน้อยกว่าที่กำหนดไว้ - มีความจำเป็นต้องจัดกิจกรรมเชิงจิตวิทยาให้แก่นิสิตชั้นปีที่ 1 นอกเวลาในช่วงเย็น และทางโครงการไม่ได้มีการจัดสรรงบประมาณค่าอาหารว่างไว้ ทำให้นิสิตหลายคนเกิดความหิว ซึ่งอาจส่งผลต่อสมาธิในการเข้าร่วมกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ
- อาจมีการพิจารณาจัดกิจกรรมในระยะที่ 1 ที่เป็นการสนทนากลุ่มตามรูปแบบของกลุ่มการปรึกษาเชิงจิตวิทยาในช่วงนอกเวลาราชการ หรือเพิ่มจานวนครั้งในการจัดกิจกรรม เพื่อให้สามารถครอบคลุมช่วงเวลาที่คณาจารย์สะดวกได้มากขึ้น - เพื่อให้การดำเนินโครงการในระยะที่ 2 มีประสิทธิภาพมากขึ้น อาจมีการทำเรื่องของบประมาณค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มแก่ นิสิตที่เข้าร่วม เพื่อไม่ให้เกิดปัจจัยแทรกซ้อนมารบกวนระหว่างทากิจกรรม หรือมีการจัดกิจรรมในวันเสาร์-อาทิตย์เพื่อป้องกันความเสี่ยงจากการเลิกกิจกรรมในช่วงกลางคืน
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16507
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
19 กุมภาพันธ์ 2568 15:44