ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการอบรมการผลิตสื่อนำเที่ยวและความรู้ทางประวัติศาสตร์
ปีงบประมาณ
2568
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-13 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active learning
P1-32 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-32
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อให้นิสิตสามารถเชื่อมโยงการเรียนรู้ที่ได้จากฝึกอบรมมาบูรณาการเข้ากับความรู้ในรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2 เพื่อให้นิสิตเกิดเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติจริง ตั้งแต่การกาหนดหัวข้อ การวางแผนโครงเรื่องไปจนขั้นตอนสุดท้ายคือการเผยแพร่ทางช่องทางออนไลน์ 3 เพื่อให้นิสิตได้ตระหนักรู้ด้านการท่องเที่ยวเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน 4 นาผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิตชั้นปีที่ 3 นิสิตชั้นปีที่ 4 คณาจารย์ วิทยากร
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการนี้เป็นโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนานิสิต โดยได้บูรณาการกับรายวิชา 4 รายวิชา ได้แก่ 1. ภจน485, ภจน487, ภจน371 และ ภจน361 นิสิตได้นำความรู้ที่ได้จากการเรียนรายวิชาและการอบรม มาผลิตผลงานคลิปวิดีโอแนะนาสถานที่ท่องเที่ยวของประเทศไทย และเผยแพร่ทางออนไลน์ อบรมโดยวิทยากรผู้เชี่ยวชาญจากสานักสื่อและเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การอบรมแบ่งออกเป็น 2 วัน ระยะห่างกัน 2 สัปดาห์ โดยวันแรกเป็นการฝึกวางแผนการถ่ายทา เรียนรู้เทคนิคการถ่ายภาพ จัดวางองค์ประกอบ การประยุกต์ใช้อุปกรณ์เครื่องมือถ่ายทำ การคิดสตอรี่บอร์ด ส่วนการอบรมวันที่ 2 เป็นการนำภาพและวิดีโอที่ถ่ายทามาจากสถานที่จริงมาฝึกเทคนิคการตัดต่อ รับฟังคำแนะนำเพื่อปรับปรุงผลงาน จากการชมคลิปผลงานที่ได้ตัดต่อและเผยแพร่แล้วนั้น ผู้สอนจะสามารถเห็นพัฒนาการของผู้เรียนเปรียบเทียบจากการเรียนในห้องและหลังจากได้ลงสถานที่จริง พิจารณาผลงานในส่วนที่ทาได้ดีและส่วนที่ควรปรับปรุง เช่น ด้านการให้ข้อมูล การออกเสียงการเลือกใช้คำศัพท์-รูปประโยค เป็นต้น เพื่อนำมาเป็นแนวทางพัฒนาการจัดการเรียนการสอน และนำเป็นตัวอย่างการศึกษาให้นิสิตผู้เรียนรุ่นถัดไปทั้ง 4 รายวิชาที่บูรณาการ
ปัญหา-อุปสรรค
ไม่มี
ข้อเสนอแนะ
พิจารณาเพิ่มงบประมาณสาหรับค่าอาหาร ของว่าง เครื่องดื่มให้เหมาะสม
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16507
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
12 ธันวาคม 2567 10:15