ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการเสริมสร้างความเชี่ยวชาญทางด้านสุขภาพจิตและคลินิก
ปีงบประมาณ
2568
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-13 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active learning
P1-32 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
P1-37 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ/ภาคเอกชนที่ร่วมกิจกรรมแนะแนว/การประกอบอาชีพของนิสิต
P1-38 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม/แนะแนว/การประกอบอาชีพสำหรับนิสิต
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-32
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อให้นิสิตเรียนรู้จากประสบการณ์ตรงผ่านการศึกษาดูงานด้านการเสริมสร้างและส่งเสริมทางสุขภาพจิต 2 เพื่อให้นิสิตสามารถเชื่อมโยงและสื่อสารการเรียนรู้ที่ได้จากการศึกษาดูงานเข้ากับความรู้ในรายวิชา หลักการ แนวคิดและทฤษฎีทางจิตวิทยา การดาเนินชีวิตและการทางานในอนาคต 3 เพื่อนาผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิต ชั้นปีที่ 3/ 4 บุคลากรสายวิชาการ วิทยากร
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
ในโครงการนี้คณาจารย์และนิสิตได้ไปศึกษาดูงาน ณ ฝ่ายส่งเสริมสุขภาวะนิสิต สานักบริหารกิจการนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งนอกจากจะได้เป็นการไปสังเกตในเชิงลักษณะทางกายภาพของฝ่าย ซึ่งมีการออกแบบโดยอาจารย์ด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์เพื่อให้เหมาะแก่การให้บริการด้านสุขภาวะแก่นิสิตแล้ว นิสิตยังได้ฟังการบรรยายเกี่ยวกับแนวคิดหรือกระบวนการในการออกแบบและดาเนินงานด้านสุขภาวะทางจิตของฝ่าย ฯ โดยได้รับเกียรติจากผู้อานวยการฝ่ายส่งเสริมสุขภาวะนิสิตและนักจิตวิทยาประจาศูนย์ ซึ่งจากประสบการณ์และองค์ความรู้ที่ได้นั้น ประธานโครงการซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชา จต341 การประเมินสภาพจิตใจเบื้องต้น และจต342 เทคนิคการให้คาปรึกษาทางจิตวิทยา ก็จะนาตัวอย่างและแนวทางที่ได้จากประสบการณ์ ดูงานครั้งนี้มาปรับปรุงในรายวิชาเพื่อพัฒนาให้นิสิตมีความรู้และทักษะในการส่งเสริมและป้องกันด้านสุขภาวะทางจิต เพิ่มเติมจากการฝึกทักษะในการประเมินและเยียวทางจิตใจ รวมไปถึงจะเปิดโอกาสให้นิสิตได้มีประสบการณ์จริงในการพัฒนากิจกรรมทางจิตวิทยาเพื่อนามาส่งเสริมนิสิตในคณะมนุษยศาสตร์เป็นประจา เพื่อพัฒนาทักษะและประสบการณ์ของนิสิตต่อไป
ปัญหา-อุปสรรค
- นิสิตร่วมตอบแบบประเมินเป็นจานวนน้อย - เนื่องจากฝ่ายส่งเสริมสุขภาวะนิสิต สานักบริหารกิจการนิสิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีการให้บริการเยียวยาทางสุขภาพจิตทาให้ ณ ขณะที่ไปศึกษาดูงานจะไม่สามารถเข้าไปสังเกตการณ์ห้องที่ให้บริการบางส่วนได้ทุกห้อง - นอกจากการสังเกตการณ์ ส่วนหนึ่งของการศึกษาดูงานจะเป็นการฟังบรรยาย ซึ่งนิสิตบางส่วนรายงานว่าอยากให้มีกิจกรรมที่ได้ขยับร่างกายเพิ่ม
ข้อเสนอแนะ
- กาหนดกลวิธีเพื่อให้นิสิตตอบแบบประเมินได้ตามจานวนที่ตั้งไว้ - วางแผนการจัดกิจกรรมร่วมกับแหล่งที่ศึกษาดูงานเพื่อพัฒนากิจกรรมที่ส่งเสริมให้นิสิตได้มีประสบการณ์จากการดูงานมากขึ้น
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16507
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
22 พฤศจิกายน 2567 15:00