ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการพัฒนาสื่อการสอน Digital Information Discovery
ปีงบประมาณ
2567
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-10 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรอบรมระยะสั้น (Short Course) เพื่อรองรับการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Reskill/Upskill)
P1-13 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตด้านการจ้างงานและกิจกรรมส่งเสริมภาวะการมีงานทำ
P1-14 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตด้านความพึงพอใจ
P1-31 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
P1-36 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ/ภาคเอกชนที่ร่วมกิจกรรมแนะแนว/การประกอบอาชีพของนิสิต
P1-37 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม/แนะแนว/การประกอบอาชีพสำหรับนิสิต
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-14
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เสริมสร้างประสบการณ์ทางวิชาการให้กับนิสิต ผ่านการนำเสนอผลงานนิสิตและการแชร์ประสบการณ์การฝึกสหกิจ 2. พัฒนาองค์ความรู้ด้านดิจิทัล (Digital Literacy) ของนิสิตและคณาจารย์ของหลักสูตรฯ เพื่อปรับปรุงเนื้อหา การจัดการเรียนการสอน และสื่อการสอนของหลักสูตรฯ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเด็นที่เกี่ยวกับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากเทคโนโลยีดิจิทัลด้านปัญญาประดิษฐ์ 3. ยกระดับผลงานนิสิตทางด้านวิชาการ และทักษะภาคปฏิบัติ ด้วยการดูตัวอย่าง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับ คณาจารย์และนิสิตต่างมหาวิทยาลัย
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
คณาจารย์ นิสิตชั้นปีที่ 2 นิสิตชั้นปีที่ 3 คณาจารย์ ม.บูรพา
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 จัดบรรยายผลงานนิสิต o ม.บูรพาได้นำเสนอผลงานการจัดกิจกรรมนักศึกษา แลของเก่า เล่าเรื่อง HUSO เป็นกิจกรรมภาพเก่าท้องถิ่น ของจังหวัดชลบุรี ม.บูรพาและชุมชนโดยรอบในอดีต ซึ่งเป็นการบูรณาการกิจกรรมกับรายวิชาการจัดการจดหมายเหตุและ นิสิต มศว. ที่ได้ร่วมโครงการได้ประสบการณ์ใหม่ๆ จากกิจกรรม อีกทั้งยังมีกิจกรรมย่อย ที่คณาจารย์ ม.บูรพามีการบูรณาการข้ามศาสตร์กับ หลักสูตรโบราณคดี ให้นักศึกษาจากสองสาขามาทำงานร่วมกันเพื่อสรุปประเด็นภาพเก่า และสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง o มศว. ได้นำผลงานกลุ่มในรายวิชา สศ321 การศึกษาผู้ใช้ ที่เป็นกิจกรรมการประยุกต์ Board Game เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็กประถมวัย และผลงานกลุ่มในรายสิชา สศ223 การพัฒนาและบริหารเว็บไซต์ ได้นำผลงานพัฒนาเว็บภาพยนต์ที่มีข้อมูล metadata ที่ครอบคลุม - กิจกรรมที่ 2 การเสวนาในหัวข้อการฝึกสหกิจและการฝึกประสบการณ์ o ม.บูรพาได้สรุปภาพรวมของนักศึกษาในปีที่ผ่านมา มีทั้งการฝึกงานกับห้องสมุด และทำงานกับบริษัทเอกชน ตัวอย่างเช่น กลุ่มไทยเบฟ และโรงงานในนิคมอุตสาหกรรมในศรีราชา และชลบุรี ทำให้นิสิต มศว. ได้เห็นมุมมองใหม่ ในการประกอบอาชีพ จากทักษะสารสนเทศที่เรามี o มศว. ได้แชร์ฐานข้อมูลสถานประกอบการที่รับนิสิตไปฝึกสหกิจ และฝึกงานให้กับ ม.บูรพา เพื่อร่วมกันใช้เป็นข้อมูลแนะแนวให้กับนิสิตและนักศึกษาที่จะฝึกงานในปีการศึกษา 2567 ต่อไป - กิจกรรมที่ 3 ประชุมระดมความคิดเห็นร่วมระหว่างคณาจารย์ ม.บูรพา และคณาจารย์ มศว. ในหัวข้อ การจัดการเรียนการสอนรายวิชา สศ111 การรู้สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ Link Facebook o คณาจารย์ ม.บูรพาได้แชร์รูปแบบการเรียนการสอน ในรายวิชาการรู้สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อให้กับคณาจารย์ มศว. คณาจารย์ มศว.ได้ร่วมแสดงความเห็น อภิปรายในหลายประเด็นที่เกี่ยวกับ การรู้เท่าทันสื่อ -กิจกรรมที่ 4 การสรุปโครงร่างวิชา สศ111 การรู้สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ ในเวอร์ชั่นปี 2024 o คณาจารย์ มศว.ได้ร่วมประชุมภายในหลักสูตร ทำการสรุปประเด็นที่เกี่ยวกับ Digital Information Discovery และประเด็นข้อแนะนำที่ได้จากกิจกกรมที่ 3 - กิจกรรมที่ 5 เสวนาโครงร่างแนวทางการพัฒนาโครงการด้าน Digital Information Discovery ในปีการศึกษา 2567 o แบ่งกลุ่มนิสิตรหัส 64 และรหัส 65 ออกเป็นสามกลุ่ม โดยคละชั้นปี จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการจัดโครงการอีกครั้งในปีการศึกษาหน้า คณาจารย์เป็นพี่เลี้ยงในการสนทนา เพื่อสรุปประเด็น และร่วมหากิจกรรมที่เหมาะสมที่เกี่ยวกับ Digital Information Discovery โดยมีแผนที่จะประยุกต์กับวิชา สศ111 การรู้สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ ส่วนเนื้อหาที่เกี่ยวกับ Information Literacy ผลลัพธ์ที่ได้นิสิตเข้าใจ รูปแบบการโจมตีทางไซเบอร์มากขึ้น การทำบอร์ดเกมเกี่ยวกับหัวข้อ Digital Literacy เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดทักษะความเข้าใจในเรื่อง digital literacy
ปัญหา-อุปสรรค
การตั้งงบประมาณขาดการชี้แจงความชัดเจนในการตั้งโครงการ ทำให้เสียเวลาในการจัดเตรียม และต้องปรับรายละเอียดโครงการอยู่หลายครั้ง
ข้อเสนอแนะ
งบประมาณในส่วนพัฒนานิสิต ครั้งต่อไปจะเพิ่มจำนวนนิสิตที่เข้าร่วม และกำหนดกิจกรรมตามที่ได้ผลประเมินสะท้อนคิด ในการจัดครั้งที่ผ่านมา
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
16 สิงหาคม 2567 11:22