ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการมนุษย์พร้อมฟัง ครั้งที่ 2
ปีงบประมาณ
2567
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-31 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
P1-34 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการสนับสนุนและเสริมสร้างนิสิตจิตอาสา และส่งเสริมให้นิสิตบูรณาการองค์ความรู้สู่การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์แก่สังคม
P1-37 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม/แนะแนว/การประกอบอาชีพสำหรับนิสิต
P1-44 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างเครือข่ายส่งเสริมสุขภาพจิตสำหรับนิสิตโดยความร่วมมือกับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
P1-45 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพจิตโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย เพื่อส่งเสริมด้านการปรับตัว การจัดการความเครียดและการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
P1-46 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและสร้างเครือข่ายอาจารย์ บุคลากรและนิสิตของแต่ละส่วนงานให้มีทักษะการให้คำปรึกษาและคัดกรองสุขภาพจิตเบื้องต้นเพื่อร่วมพัฒนาสุขภาวะนิสิต
P1-47 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการให้คำปรึกษา การคัดกรอง การกำกับติดตามและการให้ความช่วยเหลือนิสิตที่มีความต้องการการดูแลทางสุขภาพจิต
P3-04 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะทางใจและการบริการให้คำปรึกษาปัญหาด้านสุขภาวะทางใจ
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-45
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะแก่นิสิตจิตวิทยาเพื่อสามารถให้บริการปรึกษาผ่านทางข้อความแก่นักเรียนระดับ มัธยมศึกษาอย่างมีคุณภาพ 2. เพื่อให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษามีความพึงพอใจจากการบริการให้บริการปรึกษาผ่านทางข้อความของคณะฯ 3. เพื่อสร้างและพัฒนาช่องทางการบริการให้คำปรึกษาของคณะมนุษยศาสตร์เพื่อบริการสังคม 4. เพื่อนำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เป็นประโยชน์แก่นิสิต
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิตชั้นปีที่ 3 / คณาจารย์ / นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
การจัดโครงการมนุษย์พร้อมฟัง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิตคณะมนุษยศาสตร์ที่มีจิตสาธารณะได้นำความรู้ ทักษะด้านการปรึกษาเชิงจิตวิทยา ด้านการสื่อสาร และด้านไอทีมาประยุกต์ใช้ในการบริการสังคม โดยกลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนระดับมัธยมศึกษาทั่วประเทศ เพื่อเป็นพื้นที่ในการช่วยดูแลจิตใจ แบ่งเบาความทุกข์ใจ กังวลใจของเด็กและเยาวชนที่มีความเครียดและความกดดันจากสภาพสังคมที่เปลี่ยนไป ตลอดจนเป็นการสร้างระบบดูแลสุขภาวะผ่านบริการปรึกษาของคณะฯ โดยการ จัดกิจกรรมได้แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ 1) การอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นิสิตเพื่อจะได้ความรู้ และทักษะในการให้ค าปรึกษาออนไลน์ ซึ่งได้มีการเชิญวิทยากร และอาจารย์มาบรรยาย และฝึกปฏิบัติ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนออกให้บริการ 2) ออกให้บริการปรึกษาเชิงจิตวิทยาผ่านทางข้อความแก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษา ผ่าน Platform Line Open Chat นอกจากนี้ยังใช้ Platform Google Calendar และฐานข้อมูลแบบออนไลน์ในการจัดวางตารางการให้บริการและเก็บข้อมูลของผู้รับบริการ ทั้งนี้ จะนำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น และจะนำเสนอรายละเอียดการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนไว้ใน มคอ. 5 ของรายวิชา จต341 จิตวิทยาการให้ คำปรึกษาเบื้องต้น และรายวิชา จต344 เทคนิคการให้คำปรึกษาทางจิตวิทยา ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2567 และ/หรือจะนำไปพัฒนา มคอ. 3 ของรายวิชา จต341 จิตวิทยาการให้คำปรึกษาเบื้องต้น และรายวิชา จต344 เทคนิคการให้คำปรึกษาทางจิตวิทยา ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2567 ปรับเปลี่ยนข้อความ เป็นการรายงานผลโครงการ ครั้งที่ 2
ปัญหา-อุปสรรค
แม้ว่าในปีนี้จะมีการประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทาง Social Media ต่าง ๆ มากขึ้นกว่าปีก่อน แต่พบว่าในปีนี้มีผู้มาขอรับบริการน้อยลง พบว่าไม่สามารถควบคุมให้ผู้รับบริการอยู่กับบริการได้อย่างต่อเนื่อง ทำให้บางครั้งจะต้องเปลี่ยนผู้ให้บริการเนื่องจากหมดช่วงให้บริการ ซึ่งอาจส่งผลต่อบรรยากาศ ทิศทาง และความรู้สึกที่ได้จากบริการได้
ข้อเสนอแนะ
ในปีต่อไปอาจพิจารณาเปิดการให้บริการเป็นแบบ Onsite แก่นิสิตในมหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒโดยอาจเป็นส่วนหนึ่งในการจัด Event ร่วมกับส่วนงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นการฝึกประสบการณ์จริงของนิสิตในโครงการรวมไปถึงเป็นการให้บริการเยียวยาทางจิตใจแก่นิสิตของมหาวิทยาลัยด้วย อาจมีการปรับเนื้อหาในวิชา จต344 ให้ครอบคลุมถึงการปรึกษาเชิงจิตวิทยาในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อตอบสนองต่อการจัดโครงการ โดยสามารถนำค่าตอบแทนวิทยากรไปดำเนินการในส่วนอื่นที่มีความจำเป็นมากขึ้นได้
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16507
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
10 กันยายน 2567 14:07