ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการแปลภาษาตะวันออก
ปีงบประมาณ
2567
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-31 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
P1-37 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม/แนะแนว/การประกอบอาชีพสำหรับนิสิต
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-37
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นิสิตได้มีโอกาสบูรณาการความรู้และทักษะทางภาษาในสาขาวิชาที่เรียนไปใช้ปฏิบัติงานด้านการแปล และเป็นแนวทางการทำงานในอนาคต 2. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมตะวันออกแก่คณาจารย์ และนิสิต มศว 3. เพื่อให้บัณฑิตมีคุณลักษณะตามกรอบมาตรฐาน TQF คือมีความรู้และทักษะปัญญา โดยเฉพาะด้านการใช้ภาษา รวมถึงมีทักษะความสัมพันธ์บุคคลและทักษะทางสังคม โดยเฉพาะด้านการสื่อสารและการทำงานร่วมกับผู้อื่นเพิ่มมากขึ้น 4. นำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิต คณาจารย์ วิทยากร
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการพัฒนาศักยภาพด้านการแปลภาษาตะวันออก ได้เชิญวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการแปลในแต่ละสาขามาบรรยายและให้คำแนะนำเทคนิคการแปล ขั้นตอนการค้นคว้าหาข้อมูลในภาษาต่างๆ และฝึกปฏิบัติเพื่อเพิ่มทักษะการแปลและการล่าม ระหว่างวันที่ 14 มี.ค. 30 เม.ย 2567 โดยการจัดในรูปแบบ onsite โดยได้ผลิตผลงานแปลในรูปแบบดิจิทัล ได้แก่ E-Book และแผ่นภาพโฆษณา เพื่อนำมาเผยแพร่ผ่านช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ ของคณะมนุษยศาสตร์ นอกจากการจัดบรรยายและฝึกปฏิบัติด้านการแปล-การล่ามทั้งด้านธุรกิจ วัฒนธรรม และการแปลวรรณกรรมแล้ว สาขาภาษาญี่ปุ่น ได้น าเนื้อหาเกี่ยวกับคำบอกเล่าของผู้ประสบภัยจากระเบิดปรมาณู โดยได้รับการอนุเคราะห์ต้นฉบับภาษาญี่ปุ่น พร้อมกับภาพประกอบที่ใช้ในการเล่าเรื่อง มาผลิตเป็นสื่อเพื่อสันติภาพ ตามแนวคิด SDGs หัวข้อ Peace Studies โดยจัดทำเป็นรูปแบบของ Ebook และ Kamishibai Online สองภาษา โดยนิสิตได้น าความรู้และทักษะที่พัฒนาขึ้นจากการได้ฟังบรรยายและฝึกปฏิบัติ มาใช้ในการแปล การบรรณาธิการ การจัดท าหนังสือและสื่อออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ปัญหา-อุปสรรค
ไม่มี
ข้อเสนอแนะ
ไม่มี
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
13 มิถุนายน 2567 10:08