ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการบริการวิชาการพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันสื่อเพื่อชุมชน
ปีงบประมาณ
2567
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-31 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
P1-34 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการสนับสนุนและเสริมสร้างนิสิตจิตอาสา และส่งเสริมให้นิสิตบูรณาการองค์ความรู้สู่การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์แก่สังคม
P3-06 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพเด็กและเยาวชนตามความถนัดและความสามารถของพหุปัญญา 9 ด้าน มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และมีความรอบรู้ด้านสุขภาวะองค์รวม
P3-18 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนาเครือข่าย/ความร่วมมือภายนอกมหาวิทยาลัยด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อสังคม
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P3-06
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อพัฒนาทักษะการรู้ดิจิทัลและการรู้เท่าทันสื่อให้กับครูระดับประถมศึกษา 2 เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 3 เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีในการใช้สื่อใหม่แก่บุคลากรครูระดับประถมศึกษา
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิต คณาจารย์ ครูโรงเรียน
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
กิจกรรมที่จัดขึ้น เป็นกิจกรรมที่เน้นบรรยายและวิเคราะห์ประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการรู้เท่าทันสื่อโดยเนื้อหาประกอบด้วย การรู้เท่าทันสื่อที่อธิบายลักษณะและนิยามของการรู้เท่าทันสื่อ ข่าวปลอม (Fake news) ข้อมูลบิดเบือน (Disinformation) ข้อมูลผิดพลาด (Misinformation) องค์ประกอบของการรู้เท่าทันสื่อ กระบวนการในการรู้เท่าทันสื่อทักษะที่เกี่ยวข้องกับการรู้เท่าทันสื่อ ประเภทของสื่อ การวิเคราะห์ภาพและป้ายโฆษณาเกินจริง ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับร่องรอยทางดิจิทัล (Digital Footprint) ร่องรอยทางดิจิทัลเชิงรุก (Active Digital Footprint) ร่องรอยทางดิจิทัลเชิงรับ (Passive Digital Footprint) การตระหนักรู้และการป้องกันร่องรอยทางดิจิทัล เป็นต้น โดยในระหว่างบรรยาย วิทยากรจะให้ผู้เข้าร่วมโครงการแสดงทัศนะและตอบคำถามในบางประเด็นผ่านกระดานออนไลน์เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการเห็นแนวคิดที่แตกต่างของแต่ละบุคคล
ปัญหา-อุปสรรค
ช่วงเวลาในการจัดการโครงการ เป็นช่วงเปิดภาคเรียนของโรงเรียน ทำให้ทางโรงเรียนต้องงดการเรียนการสอนเพื่อให้บุคลากรในโรงเรียนเข้ารับการอบรม เพื่อให้การจัดโครงการเป็นไปอย่างราบรื่นอาจปรับช่วงเวลาที่จัดให้สอดคล้องกับช่วงที่ทางโรงเรียน ปิดภาคเรียน
ข้อเสนอแนะ
ปรับช่วงเวลาของการจัดโครงการให้เหมาะสมกับการปิดภาคเรียนของโรงเรียน
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
13 มิถุนายน 2567 09:31