ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะทันตแพทยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการเพิ่มศักยภาพนิสิตในการพัฒนาชุมชนเพื่องานทันตสาธารณสุข
ปีงบประมาณ
2567
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-02 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานประกอบการ/หน่วยงาน
P1-06 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรให้ได้รับการรับรองตามเกณฑ์มาตรฐานระดับนานาชาติ
P1-13 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตด้านการจ้างงานและกิจกรรมส่งเสริมภาวะการมีงานทำ
P1-14 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรให้ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตด้านความพึงพอใจ
P1-31 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
P3-03 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการเสริมสร้างสุขภาวะทางกายของคนในชุมชน
P3-04 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะทางใจและการบริการให้คำปรึกษาปัญหาด้านสุขภาวะทางใจ
P3-08 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการเสริมสร้างให้ผู้สูงอายุในชุมชนเป้าหมาย มีองค์ความรู้ด้านอาชีพ ทักษะการดำรงชีวิต และการเป็นพลังสำคัญของชุมชน
P3-14 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการบูรณาการการบริการวิชาการเพื่อสังคมและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมร่วมกับการเรียนการสอน
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P3-08
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นิสิตที่ออกฝึกภาคสนามได้เรียนรู้วิถีการดำเนินชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่นของคนในชุมชน ฝึกทักษะการสื่อสารการประชาชนในชุมชนตามอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย เรียนรู้ที่จะปรับตนเองเพื่อใช้ชีวิตในชุมชนได้อย่างเหมาะสม 2.เพื่อให้นิสิตที่ออกฝึกภาคสนามมีโอกาสศึกษาปัจจัยที่เป็นสาเหตุของปัญหาสุขภาพผ่านการเรียนรู้ด้วยกระบวนการสัมภาษณ์ และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพแบบบูรณาการ 3.เพื่อให้เกิดการบูรณาการการเรียนการสอนกับพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการ 4.เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคล ทักษะการแก้ไขปัญหา ทักษะการทำงานเป็นทีม ทักษะการคิดเชิงระบบ และทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์และทักษะการคิดเชิงสร้างสรรค์
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
1.1. นิสิตทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 3 ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 61 คน 1.2. ผู้นำชุมชนในพื้นที่ และประชาชน ตำบลบางกะเจ้า อ.พระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
จานวนผู้ที่เข้าร่วมโครงการ อาจารย์ในภาควิชาฯ ทันตแพทย์โรงพยาบาล เจ้าหน้าที่ นิสิตทันตแพทย์ ชั้นปีที่ 3 และผู้ที่เกี่ยวข้อง จานวน 80 ราย (เป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการฯ ประมาณ 75 ราย) ลักษณะของโครงการ / แผนการฝึกปฏิบัติงาน 1. การฝึกปฏิบัติงานทันตกรรมภาคสนามมีนิสิตทันตแพทย์จานวน 63 คน แบ่งกลุ่มนิสิตไปแหล่งฝึก จานวน 8 แหล่งฝึก กลุ่มละ 7-8 คน ใช้เวลาฝึกปฏิบัติงาน 5 วันและสรุป 1 วัน สรุปการสารวจความพึงพอใจ ในการสารวจความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการที่มีต่อการจัดโครงการเพิ่มศักยภาพนิสิตในการพัฒนาชุมชนเพื่องานทันตสาธารณสุขปรากฏว่ามีผู้ตอบแบบสารวจความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 100 (จากจานวน ผู้ตอบแบบสารวจ 70ชุด) โดยแยกระดับได้ดังนี้ - รูปแบบของการจัดโครงการ ร้อยละ 90 - ประโยชน์ที่จะได้รับจากโครงการ และระยะเวลาในการจัดโครงการ ร้อยละ 90 - ความพึงพอใจต่อสิ่งอานวยความสะดวก และสถานที่ ร้อยละ 92 - ความพึงพอใจในภาพรวมของโครงการ ร้อยละ 93 ผลประเมินตามตัวชี้วัด จากแบบสอบถามพบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความสาคัญในการจัดโครงการเพิ่มศักยภาพนิสิตในการพัฒนาชุมชนเพื่องานทันตสาธารณสุข ในครั้งนี้ โดยร้อยละของการเข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจต่อรูปแบบของโครงการ ประโยชน์ที่จะได้รับ และนิสิตทันตแพทย์ได้รับความรู้ ความเข้าใจได้เรียนรู้วิถีการดาเนินชีวิตของคนกลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน ทาให้มีวิสัยทัศน์กว้าง มีความเห็นอกเห็นใจผู้อื่น และนาไปใช้กับการเป็นทันตแพทย์ เรียนรู้ทักษะการสื่อสาร ทักษะการแก้ไขปัญหา ทักษะการทางานเป็นทีม ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์ และทักษะการคิดเชิง สร้างสรรค์ ซึ่งผลสารวจความพึงพอใจในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ได้ครอบคลุม ครบถ้วนตามวัตถุประสงค์ของโครงการ อยู่ในระดับ ดีมาก ร้อยละ 92
ปัญหา-อุปสรรค
ไม่มี
ข้อเสนอแนะ
ไม่มี
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
เทวี วิชัยดิษฐ
โทร
15854, 083-429-7682, 098-479-0009
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
20 มีนาคม 2567 13:37