ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการจิตอาสาพัฒนาความรู้และพัฒนาแหล่งเรียนรู้สู่ชุมชน
ปีงบประมาณ
2567
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-31 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENTS)
P1-33 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการสนับสนุนและส่งเสริมให้องค์กรนิสิตมีความเข้มแข็ง มีภาวะผู้นำและมีส่วนร่วมในการพัฒนามหาวิทยาลัย
P1-34 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการสนับสนุนและเสริมสร้างนิสิตจิตอาสา และส่งเสริมให้นิสิตบูรณาการองค์ความรู้สู่การบำเพ็ญสาธารณประโยชน์แก่สังคม
P3-01 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการบริการวิชาการเพื่อสังคมและโครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและ/หรือเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ตามหลัก University Social Engagement
P3-06 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการพัฒนาและเพิ่มศักยภาพเด็กและเยาวชนตามความถนัดและความสามารถของพหุปัญญา 9 ด้าน มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 และมีความรอบรู้ด้านสุขภาวะองค์รวม
P3-14 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการบูรณาการการบริการวิชาการเพื่อสังคมและการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมร่วมกับการเรียนการสอน
P3-18 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนาเครือข่าย/ความร่วมมือภายนอกมหาวิทยาลัยด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อสังคม
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P3-06
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นิสิตนำความรู้และความคิดจากกระบวนการการเรียนรู้ในห้องเรียนมาสอนให้แก่เด็กในชุมชน 2. เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกสาธารณะแก่นิสิตผู้ที่เข้าร่วมโครงการให้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสังคม 3. เพื่อให้นิสิตได้ส่งมอบและต่อยอดความรู้ของตนให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม 4. นำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิต คณาจารย์
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
ลักษณะกิจกรรมที่จัดขึ้นในโครงการนี้แบ่งออกเป็น 2 กิจกรรมหลักคือ 1. กิจกรรมพัฒนาความรู้ ได้แก่ การทำสื่อประกอบการเรียน การสอน เพื่อมอบให้แก่ทางโรงเรียน และจัดกิจกรรมพัฒนาความรู้ให้แก่นักเรียน 2. กิจกรรมพัฒนาโรงเรียน ได้แก่ การปรับปรุงพื้นที่ บริเวณโรงเรียนให้เป็นพื้นที่สำหรับการเรียนรู้ เช่น การวาดรูปทาสีเป็นสื่อการเรียนรู้บนพื้นที่ทางเดินเพื่อสอนเกี่ยวกับคำภาษาอังกฤษและ คำไทย การวาดภาพตกแต่งบริเวณทางเดินเข้าอาคารเรียนสนามกีฬา สนามเด็กเล่น กำแพงโรงเรียน ลานเคารพธงชาติด้านหน้าห้องเด็ก อนุบาล และบริเวณพื้นที่ป้ายหน้าโรงเรียน เป็นต้น ทั้งนี้ จะนำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น และจะนำเสนอรายละเอียดการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนไว้ใน มคอ. 5 ของรายวิชา จต201 จิตวิทยาเพื่อการเรียนรู้ ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2566 และ/หรือจะนำไปพัฒนา มคอ. 3 ของรายวิชา จต201 จิตวิทยาเพื่อการเรียนรู้ประจำภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2567 ไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน
ปัญหา-อุปสรรค
การดำเนินการจัดกิจกรรมที่มีความหลากหลาย และใช้เวลากับพื้นที่ในการจัดโครงการได้หลายวัน อีกทั้งต้องจำกัดจำนวนคนที่เข้าร่วมโครงการ ส่งผลให้อาจจะต้องมีการดำเนินงานที่ค่อนข้างกระชับและเร่งให้จบภายในวันเดียวในบางกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ
วิเคราะห์สถานการณ์และความสามารถในการจัดโครงการให้สอดคล้องกับทรัพยากร เวลา สถานที่ และจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการเพื่อออกแบบกิจกรรมที่มีความหลากหลายแต่เหมาะสมกับบริบท และทรัพยากร พัฒนาระบบการวัดประเมินผลโครงการให้มีประสิทธิภาพขึ้น
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
15 มีนาคม 2567 11:42