ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการมนุษยศาสตร์เพื่อการสื่อสารเชิงบวกของเยาวชนอาเซียน
ปีงบประมาณ
2566
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P3-01 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านพันธกิจสัมพันธ์เพื่อสังคม
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P3-01
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อจัดกิจกรรมการสื่อสารเชิงบวกแก่เยาวชนอาเซียนเพื่อสามารถนำความรู้ มาบูรณาการทักษะสื่อสารข้ามวัฒนธรรมอาเซียน 2. เพื่อให้นิสิตมีจิตสำนึกของความเป็นพลเมืองอาเซียนที่ดีและมีคุณธรรมจริยธรรม 3. นำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
อาจารย์ บุคคลภายนอก
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการมนุษยศาสตร์เพื่อการสื่อสารเชิงบวกจัดขึ้นวันที่ 22 มีนาคม 2566 ผู้เข้าร่วมการอบรมที่ผ่านมาได้ฟังการบรรยายและอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อการอบรมต่าง ๆ. ได้แก่ การทักทาย การใช้ชีวิตในมหาวิทยาลัย การซื้อของ อาหารและมารยาทในการรับประทานอาหาร การเข้าร่วมพิธีกรรม การเดินทาง ประเพณี และการนัดหมาย โดยมีนักศึกษาลาวเข้าร่วมอบรมจำนวน 8 คน และอาจารย์จากทางลาวจำนวน 2 คน ได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับวิทยากร ร่วมถึงได้มีความรู้และความเข้าใจรูปแบบการสื่อสารข้ามวัฒนธรรมในหัวข้อนั้น ๆ ในช่วงการบรรยายและการฝึกปฏิบัติ นักศึกษาและอาจารย์ได้มีการเรียนรู้การสื่อสารข้ามวัฒนธรรมทั้งไทยและลาว ร่วมถึงร่วมทำกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมการระดมความคิด กิจกรรมการนำเสนอ ร่วมถึงมีการแลกเปลี่ยนความคิดในประเด็นหัวข้อที่กำหนดให้ เพื่อให้นักศึกษาและอาจารย์สามารถนำไปใช้ได้ถูกต้องและเหมาะสมตามบริบทสถานการณ์ต่าง ๆ ได้ ทั้งนี้ จะนำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น และจะนำเสนอรายละเอียดการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนไว้ใน มคอ. 5 ของรายวิชา ALC106 ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2566
ปัญหา-อุปสรรค
เนื่องจากการจัดกิจกรรมอบรมเป็นรูปแบบในลักษณะออนไลน์ทำให้การจัดกิจกรรมบางอย่าง เช่น กิจกรรมการระดมความคิด กิจกรรมการนำเสนอ และกิจกรรมการอ่านจิกซอว์สามารถทำได้อย่างไม่เต็มที่มากนัก นอกจากนี้ระบบการศึกษาทางฝั่งลาวอาจต้องมีการคัดกรองก่อนเพื่อเผยแพร่สู่เยาวชนลาว ดังนั้นการจัดอบรมดังกล่าวจึงเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การสื่อสารเชิงบวกระหว่างไทยและลาวในเบื้องต้นเพื่อจัดโครงการในลักษณะดังกล่าวที่เป็นรูปแบบ onsite ที่ประเทศลาวในโอกาสถัดไป
ข้อเสนอแนะ
อาจเปลี่ยนการจัดกิจกรรมในลักษณะดังกล่าวเป็นลักษณะออนไซด์ เช่น การเดินทางไปบริการวิชาการถึงสถานที่ หรืออาจเป็นการให้นักศึกษาลาวเดินทางมาเข้าร่วมกิจกรรม ณ คณะมนุษยศาสตร์ เป็นต้น เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และจัดกิจกรรมในลักษณะแบบเต็มรูปแบบ
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
8 กันยายน 2566 09:27