ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการภูมิปัญญาไทยเพื่อสร้างสรรค์วรรณกรรมสำหรับเด็ก
ปีงบประมาณ
2566
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-24 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENT)
P3-13 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการกำหนดหลักเกณฑ์แนวปฏิบัติในการบูรณาการการบริการวิชาการเพื่อสังคมกับการเรียนการสอน
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P3-13
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อส่งเสริมให้นิสิตมีความตระหนักและซาบซึ้งในคุณค่าของวัฒนธรรมและศิลปะอันดีงามของไทย 2. เพื่อส่งเสริมให้นิสิตมีจิตสำนึกด้านคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองที่ดี 3. เพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอนในรายวิชา วด 212 คติชาวบ้าน 4 เพื่อบูรณาการกับการพัฒนาศักยภาพนิสิตให้มีประสบการณ์ ทักษะ ในการสร้างสรรคค์สื่อที่เหมาะสมต่อการทำงานเกี่ยวกับศิลปะวัฒนธรรมไทยต่อไป 5. เพื่อสืบสานและอนุรักษ์วัฒนธรรมและศิลปะไทยให้มีความยั่งยืนสืบไป 6. นำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
คณาจารย์ นิสิต วิทยากร
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
จัดการศึกษาแบบเรียนรู้นอกสถานที่ ณ พิพิธภัณฑ์เรือนมหาสวัสดี ชุมชนท่ามะเกลือ และบ้านข้าวตังศาลาดิน ณ จังหวัดนครปฐม ฝึกปฏิบัติการทำอาหารท้องถิ่น เช่น ข้าวตัง แกงไก่ใส่กล้วย และซ่าหริ่มนอกจากนี้ ยังจัดการศึกษาแบบอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องความเชื่อ อาหารพื้นบ้านและของใช้สมัยโบราณ ฝึกปฏิบัติการสร้างสรรค์ผลงานจากผลิตผลทางธรรมชาติ เช่น ครั่ง เป็นต้น ทั้งนี้ จะนำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น และจะนำเสนอรายละเอียดการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนไว้ใน มคอ. 5 ของรายวิชาวด 212 คติชาวบ้าน ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา2565 และ/หรือจะนำไปพัฒนา มคอ. 3 ของรายวิชาวด. 212 ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2566. กรณีเป็นโครงการที่จัดให้นิสิตแต่ไม่ได้มีการบูรณาการกับรายวิชา ต้องแสดงหลักฐานการนำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น เช่น แผนการจัดกิจกรรมหรือโครงการในปีงบประมาณถัดไป ฯลฯ
ปัญหา-อุปสรรค
การจัดโครงการช่วงปลายภาคเรียนอาจทำให้มีความล่าช้าในการสรุปผลเพื่อบูรณาการกับการวัดและประเมินผลผลการเรียนการสอนวิชา 212 คติชาวบ้าน
ข้อเสนอแนะ
จัดโครงการในระยะเวล่ที่เร็วขึ้น เช่น หลังสอบกลางภาค เพื่อให้มีการสานต่อในการเรียนการสอนและมีสามารถประเมินผลได้ในเวลาอันเหมาะสมและไม่กระชั้นชิดกับกับการส่งเกรดปลายภาคเกินไป
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
24 สิงหาคม 2566 09:32