ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการเตรียมความพร้อมด้านทักษะทางภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลสู่วิชาชีพครู
ปีงบประมาณ
2566
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ (Action Plan) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 2570
P1-24 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ (SWU DNA) ครอบคลุม 7 Competency และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENT)
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-24
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อให้นิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยชั้นปีที่ 1 - 4 มีความพร้อมและนำความรู้จากการพัฒนาทักษะทางภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลไปประยุกต์ใช้ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด 2 เพื่อให้นิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยชั้นปีที่ 1 - 4 มีทักษะและสมรรถนะที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานศึกษา 3 นำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิต วิทยากร คณาจารย์
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
ครั้งที่ 1 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยตระหนักถึงความสำคัญของทักษะทางภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลที่จะนำไปใช้ในการประกอบวิชาชีพครู จึงได้จัดโครงการเตรียมความพร้อมด้านทักษะทางภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลสู่วิชาชีพครูขึ้น โดยกลุ่มเป้าหมายของการดำเนินการโครงการนี้ คือ นิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยชั้นปีที่ 1 - 4 ทั้งนี้เพื่อให้นิสิตได้พัฒนาทักษะทางภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัล ตลอดจนนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยในระหว่างฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้ จะนำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น และจะนำเสนอรายละเอียดการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนไว้ใน มคอ. 5 ของรายวิชา ทกศ 352 วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย และทกศ 353 สื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ภาษาไทย ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2566 และ/หรือจะนำไปพัฒนา มคอ. 3 ของรายวิชาทกศ 352 วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย และทกศ 353 สื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ภาษาไทย ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2567 ครั้งที่ 2 หลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยตระหนักถึงความสำคัญของทักษะทางภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลที่จะนำไปใช้ในการประกอบวิชาชีพครู จึงได้จัดโครงการเตรียมความพร้อมด้านทักษะทางภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัลสู่วิชาชีพครูขึ้น โดยกลุ่มเป้าหมายของการดำเนินการโครงการนี้ คือ นิสิตหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยชั้นปีที่ 1 - 4 ทั้งนี้เพื่อให้นิสิตได้พัฒนาทักษะทางภาษาและเทคโนโลยีดิจิทัล ตลอดจนนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยในระหว่างฝึกประสบการณ์วิชาชีพและการประกอบวิชาชีพ ทั้งนี้ จะนำผลประเมินการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตมีทักษะที่พึงประสงค์ดีขึ้น และจะนำเสนอรายละเอียดการจัดโครงการไปพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอนไว้ใน มคอ. 5 ของรายวิชา ทกศ 352 วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย และทกศ 353 สื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ภาษาไทย ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2566 และ/หรือจะนำไปพัฒนา มคอ. 3 ของรายวิชาทกศ 352 วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย และทกศ 353 สื่อ เทคโนโลยี และนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้ภาษาไทย ประจำภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2567
ปัญหา-อุปสรรค
ครั้งที่ 1 ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการจัดโครงการครั้งนี้คือ วิทยากร เนื่องจากวิทยากรส่วนใหญ่จะมีความรู้ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ด้านใดด้านหนึ่ง เช่น ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านภาษาอังกฤษ ด้านการสอน เป็นต้น แต่ผู้เข้าร่วมโครงการต้องการได้รับความรู้จากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญในศาสตร์ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศและผสมผสานกับด้านภาษาไทย ซึ่งทำให้ต้องใช้ระยะเวลานานในการติดต่อหรือประสานวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถตรงกับความต้องการของผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่ 2 ปัญหาและอุปสรรคที่พบในการจัดโครงการครั้งนี้คือ ผู้เข้าร่วมโครงการ เนื่องจากการจัดโครงการครั้งนี้เป็นช่วงเวลาที่นิสิตชั้นปีที่ 4 ได้ปิดภาคเรียนแล้ว จึงจำเป็นต้องดำเนินการจัดการโครงการก่อนกลางเดือนมีนาคม 2566 เพื่อให้นิสิตชั้นปีที่ 4 ได้เข้าร่วมโครงการทุกคน การดำเนินโครงการครั้งนี้จึงมีระยะเวลากระชั้นชิดกับโครงการครั้งที่ 1 ทำให้หัวหน้าโครงการต้องเร่งรีบจัดการหรือประสานงานเรื่องต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ
ครั้งที่ 1 ปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดโครงการให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ลงมือฝึกปฏิบัติจริงเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในเรื่องที่อบรม ครั้งที่ 2 ปรับเปลี่ยนระยะเวลาการจัดโครงการและรูปแบบโครงการให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ลงมือฝึกปฏิบัติจริงเพิ่มมากขึ้นเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในเรื่องที่อบรม
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
31 พฤษภาคม 2566 14:42