ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการมนุษย์พร้อมฟัง
ปีงบประมาณ
2565
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 2570
P1-11 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning
P1-51 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมสร้างภูมิคุ้มกันให้นิสิตมีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตใจที่แข็งแรงสามารถดำรงตนในสังคมได้อย่างมีความสุข (SWU HAPPY Space)
P1-45 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENT)
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-51
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาได้รับความพึงพอใจจากการบริการให้คำปรึกษาของคณะ ฯ 2.เพื่อส่งเสริมให้นิสิตคณะมนุษยศาสตร์มีจิตอาสาและมีส่วนร่วมในการทำประโยชน์เพื่อส่วนรวม 3.เพื่อให้นิสิตคณะมนุษยศาสตร์นำประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิชาการ ทักษะสื่อสาร และทักษะไอที เพื่อบริการสังคม 4.เพื่อสร้างและพัฒนาช่องทางการบริการให้คำปรึกษาของคณะมนุษยศาสตร์เพื่อบริการสังคม
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
อาจารย์ที่ปรึกษา นิสิตคณะมนุษยศาสตร์ นักเรียนมัธยมศึกษา
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
การจัดโครงการมนุษย์พร้อมฟัง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิตคณะมนุษยศาสตร์ที่มีจิตสาธารณะได้นำความรู้และประสบการณ์ด้านการให้คำปรึกษา ด้านการสื่อสาร และด้านไอทีมาประยุกต์ใช้ในการบริการสังคม โดยกลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนระดับมัธยมศึกษาทั่วประเทศ เพื่อเป็นพื้นที่ในการช่วยดูแลจิตใจ แบ่งเบาความทุกข์ใจ กังวลใจของเด็กและเยาวชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ตลอดจนเป็นการสร้างระบบการให้คำปรึกษาของคณะฯ โดยการจัดกิจกรรมได้แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ 1) การอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นิสิตเพื่อจะได้ความรู้ และทักษะในการให้คำปรึกษา ซึ่งได้มีการเชิญวิทยากร และอาจารย์มาบรรยาย และฝึกปฏิบัติ ตลอดจนการประชุมเพื่อติดตามงานและให้ข้อเสนอแนะระหว่างการดำเนินโครงการโดยผ่านโปรแกรม Zoom 2) การให้บริการแก่นักเรียนระดับมัธยมศึกษา โดยเป็นการให้บริการในการให้คำปรึกษาผ่านข้อความด้วย Platform Line OpenChat นอกจากนี้ยังใช้ Platform Trello สำหรับการบริหารจัดการข้อมูลในการทำงานและติดตามผลการดำเนินงาน
ปัญหา-อุปสรรค
ช่วงเวลาในการดำเนินงานและการประชาสัมพันธ์โครงการกับกลุ่มเป้าหมายอาจจะไม่ทั่วถึงทำให้จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์หรือเกณฑ์ความสำเร็จของโครงการ ประกอบกับสถานการณ์โควิดทำให้รูปแบบที่เลือกใช้เป็นลักษณะ platform line openchat ทำให้ลักษณะของปัญหาหรือการมาขอรับบริการจึงมีข้อจำกัดทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพในการให้คำปรึกษา
ข้อเสนอแนะ
วิเคราะห์ความต้องการในการพัฒนาศักยภาพของนิสิตเกี่ยวกับทักษะการให้คำปรึกษา และวิเคราะห์พฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมายว่ามีความต้องการขอรับคำปรึกษาจากช่องทางใด ช่วงเวลาใดเป็นสำคัญ ตลอดจนการประชาสัมพันธ์โครงการที่จะทำให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายเพิ่มมากขึ้น และพิจารณาความเป็นไปได้ในการให้บริการให้คำปรึกษาในรูปแบบปกติ
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
16 กันยายน 2565 08:50