ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการภาษาเวียดนามเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์อาชีพ
ปีงบประมาณ
2565
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 2570
P1-11 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning
P1-62 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมแนะแนวเพื่อความพร้อมในการประกอบอาชีพของนิสิต
P1-45 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENT)
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-11
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจในภาษาเวียดนามเพื่อการประกอบอาชีพ 2. เพื่อเปิดโอกาสให้นิสิตได้พบปะและแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาเวียดนามในสาขาอาชีพต่าง ๆ 3. เพื่อเปิดโอกาสให้นิสิตได้พัฒนาทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิต อาจารย์
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการภาษาเวียดนามเพื่อเสริมสร้างประสบการณ์อาชีพจัดขึ้นระหว่างวันที่ 25-27 พค 2565 ผู้เข้าร่วมการอบรมที่ผ่านมาได้ฟังการบรรยายและอบรมเชิงปฏิบัติการในหัวข้อการอบรมต่าง ๆ. ได้แก่ ภาษาเวียดนามเพื่อการปฏิบัติงานในองค์กร ภาษาเวียดนามเพื่อการค้าและการลงทุน การล่ามและการแปลภาษาเวียดนามเกี่ยวกับการต่อต้านการค้ามนุษย์ ภาษาเวียดนามเพื่อการเจรจาทางการทูต ภาษาเวียดนามเพื่อธุรกิจการบินและการบริการ และภาษาเวียดนามในสื่อและประชาสัมพันธ์ โดยนิสิตที่เข้าร่วมอบรมจำนวน 30 คนได้ร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาเวียดนามในสาขาอาชีพต่าง ๆ ร่วมถึงได้มีความรู้และความเข้าใจภาษาเวียดนามในหัวข้อนั้น ๆ ในช่วงการบรรยายและการฝึกปฏิบัติ นิสิตได้มีการเรียนรู้ภาษาเวียดนามร่วมถึงมีการฝึกทักษะในด้านต่าง ๆ เช่น การฟัง การพูด การอ่าน และการออกเสียง คำศัพท์และสำนวนภาษาเวียดนามที่จำเป็นสำหรับการสื่อสารในบริบทต่าง ๆ เช่น ในองค์กรเวียดนาม ในด้านการบริการ ร่วมถึงมีการแลกเปลี่ยนความคิดในประเด็นหัวข้อที่กำหนดให้ เช่น ลักษณะที่ดีของการเป็นล่าม ข้อควรปฏิบัติและสิ่งที่ต้องพึงระวังของการเป็นล่ามระดับสูง และล่ามเจรจาทางการทูต นอกจากนี้วิทยากรยังได้ให้นิสิตจำลองบทบาทสมมุติในการใช้ภาษาเวียดนามในบริบทต่าง ๆ เพื่อให้นิสิตสามารถจดจำและนำไปใช้ได้ถูกต้องและเหมาะสมตามบริบทสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
ปัญหา-อุปสรรค
เนื่องจากช่วงเวลาการอบรมในแต่ละวันมีจำนวนช่วงโมงมากเกินไป ทำให้นิสิตที่เข้าร่วมอบรมเหนื่อยล้า ทำให้ไม่มีสมาธิกับหัวข้อการอบรม
ข้อเสนอแนะ
มีการปรับจำนวนช่วงโมงการอบรมในแต่ละวันให้เหมาะสม เพื่อให้นิสิตเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
25 กรกฎาคม 2565 15:40