ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการเปิดโลกวรรณกรรมสำหรับเด็ก
ปีงบประมาณ
2565
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 2570
P1-45 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENT)
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-45
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อส่งเสริมให้นิสิตได้รับประสบการณ์ ความรู้ และทัศนคติที่ดีต่อวรรณกรรมสำหรับเด็ก 2 เพื่อให้นิสิตได้เปิดโลกทัศน์และสามารถเชื่อมโยงความรู้ในศาสตร์ต่างๆ มาประยุกต์เป็นองค์ความรู้ทางวรรณกรรมสำหรับเด็กให้เหมาะสมกับบริบทในสังคมปัจจุบันได้
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิต อาจารย์
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
กิจกรรมนำนิสิตไปศึกษาประวัติและวิวัฒนาการวรรณกรรมสำหรับเด็กไทย ณ สำนักหอสมุดแห่งชาติ และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร จำนวน 1 วัน โดยในช่วงเช้าเป็นการศึกษาดูงานและรับฟังการบรรยายหัวข้อ วิวัฒนาการวรรณกรรมไทยกับวัฒนธรรมตะวันออก โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ธเนศ สายจิตบริสุทธิ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาภาษาเกาหลี คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาและวัฒนธรรมตะวันออก ณ สำนักหอสมุดแห่งชาติ และช่วงบ่ายเป็นการศึกษาดูงานและรับฟังการบรรยายหัวข้อ "มรดกจากผืนแผ่นดินไทยสู่การนำเสนอในมุมมองใหม่แก่เยาวชน" โดยคุณมัณฑนา ยุบล เจ้าพนักงานพิพิธภัณฑ์ชำนาญงาน ณ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
ปัญหา-อุปสรรค
เนื่องจากโครงการเปิดโลกวรรณกรรมสำหรับเด็กต้องปรับรูปแบบการจัดจากทัศนศึกษานอกสถานที่เป็นการจัดออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ทำให้มีนิสิตชั้นปีที่ 2-3 (ที่เคยเข้าร่วมกิจกรรมออนไลน์มาแล้ว) สนใจที่จะเข้าร่วมกิจกรรมของโครงการในครั้งนี้ด้วยเป็นจำนวนมาก เพราะยังไม่เคยออกไปทำร่วมกิจกรรมนอกสถานที่ เนื่องจากสถานการณ์ Covid-19 ดังนั้นจึงต้องแก้ปัญหาด้วยการแบ่งกลุ่มนิสิตเข้าชมสถานที่ต่างๆ ให้อยู่ในมาตรการเฝ้าระวัง Covid-19 อย่างเคร่งครัด ซึ่งส่งผลกระทบต่อแผนการจัดการ งบประมาณ และสถานที่เข้าชมหรือสถานที่รับประทานอาหารไปบ้าง
ข้อเสนอแนะ
ปรับระยะเวลาการทัศนศึกษาให้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น เพื่อให้นิสิตได้มีเวลาเยี่ยมชมแหล่งเรียนรู้ต่างๆ เพิ่มมากขึ้น และพิจารณาจำนวนผู้เข้าร่ววมโครงการกับสถานที่แหล่งเรียนรู้ต่างๆ ให้เหมาะสม
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
25 กรกฎาคม 2565 15:09