ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการสร้างสรรค์ปันสุขด้วยวรรณกรรมสำหรับเด็ก
ปีงบประมาณ
2565
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 2570
P1-11 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning
P1-45 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENT)
P3-05 การกำหนดหลักเกณฑ์แนวปฏิบัติในการบูรณาการการบริการเพื่อสังคมกับการเรียนการสอน
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-11
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 นิสิตได้การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทางวรรณกรรมสำหรับเด็กเพื่อสร้างสรรค์เรื่องราวในการพัฒนาเด็กที่ต้องเผชิญความยากลำบากในสภาวะต่างๆ 2 เพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอนรายวิชา วด วด 203 ความรู้ทั่วไปด้านการศึกษาสำหรับเด็กและ วด 213 การอ่านและวิเคราะห์วรรณกรรมสำหรับเด็ก 1 3 นิสิตได้รับประสบการณ์ในสร้างสรรค์นิทานรูปแบบไฟล์เสียงเพื่อใช้เผยแพร่ในสื่อออนไลน์ 4 นิสิตมีความรู้ความเข้าใจในการบริการวิชาการที่สร้างความตระหนักและเห็นคุณค่าของวรรณกรรมสำหรับเด็กที่มีต่อการพัฒนาเด็กและสังคม
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
นิสิต อาจารย์
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
โครงการสร้างสรรค์ปันสุขด้วยวรรณกรรมสำหรับเด็ก จัดขึ้นระหว่างวันที่ 29, 30, 31 พฤษภาคม 1, 2, 3, 6 และ 17 มิถุนายน 2565 ในรูปแบบการบรรยาย และอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อให้นิสิตสร้างสรรค์นิทานรูปแบบไฟล์เสียงเพื่อให้กำลังใจเด็กที่มีภาวะความยากลำบากในรูปแบบต่างๆ โดยสำรวจข้อมูลในวันที่ 29 พฤษภาคม 2565 และจัดการบรรยายและให้คำแนะนำนิสิตในวันที่ 29 -30 พฤษภาคม 2565 จัดช่วงเวลาให้นิสิตนำความรู้ที่ได้รับจากวิทยากรมาประยุกต์ใช้และปฏิบัติตามคำแนะนำ ในวันที่ 1-3 มิถุนายน 2565 จัดส่งไฟล์เสียงให้โรงเรียนพระราม 9 กาญจนาภิเษก ซึ่งเป็นโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายในวันที่ 6 มิถุนายน 2565 และติดตามผลการใช้สื่อไฟล์เสียงที่นิสิตสร้างสรรค์ในวันที่ 17 มิถุนายน 2565
ปัญหา-อุปสรรค
1. ช่วงเวลาที่ไม่สอดคล้องกันของภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษาและระดับอนุบาล ทำให้ต้องจัดโครงการในช่วงเวลาหลังปิดภาคเรียนที่ทางมหาวิทยาลัยกำหนด 2. การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ระลอกใหม่ ทำให้ทางโรงเรียนต้องรอดูสถานการณ์และไม่สามารถให้คำตอบในเรื่องการจัดกิจกรรมแบบเผชิญหน้าได้ภายในระยะเวลาการขออนุมัติโครงการที่เหมาะสม การจัดกิจกรรมจึงจำเป็นต้องจัดในรูปแบบออนไลน์ 3. การบันทึกไฟล์เสียงโดยนิสิตทำงานเป็นกลุ่มออนไลน์เป็นครั้งแรก ทำให้นิสิตประสบปัญหาในการทำไฟล์เสียงที่ช่วยกันใช้เสียงของตนในการสร้างบทสนทนาที่น่าสนใจ แต่มีปัญหาความดังและเบาของเสียงที่ไม่สม่ำเสมอ ซึ่งแตกต่างจากการจัดกิจกรรมแบบเผชิญหน้าและนิสิตอัดเสียงร่วมกัน
ข้อเสนอแนะ
1. วางแผนการจัดกิจกรรมในครั้งต่อไปให้สอดคล้องกับภาคการศึกษาระดับอุดมศึกษามากขึ้น 2. วางแผนการจัดกิจกรรมแบบผสมผสาน และพร้อมปรับเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ 3. ปรับปรุงวิธีในการอัดเสียงและรวบรวมไฟล์เสียงรายบุคคลของนิสิต เพื่อให้สามารถปรับเสียงให้มีความดัง และเบา สม่ำเสมอได้ และปรับปรุงจังหวะและวิธีการออกเสียงให้ช้า ชัดเจน และฟังง่ายเหมาะสมกับรูปแบบนิทานไฟล์เสียงเพิ่มขึ้น
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
25 กรกฎาคม 2565 15:03