ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการจิตอาสาพัฒนาความรู้สู่ชุมชน
ปีงบประมาณ
2565
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 2570
P1-45 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENT)
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-45
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นิสิตนำความรู้และความคิดจากกระบวนการการเรียนรู้ในห้องเรียนมาสอนแก่เด็กในชุมชน 2.เพื่อปลูกฝังจิตสำนึกสาธารณะแก่นิสิตผู้ที่เข้าร่วมโครงการให้มีส่วนร่วมในการช่วยเหลือสังคม
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
คณาจารย์ นิสิต
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
คณะมนุษยศาสตร์ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์สำคัญในการพัฒนานิสิต เพื่อส่งเสริมให้นิสิตทุกคนได้มีกระบวนการเรียนรู้ และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีความรู้และประสบการณ์ทั้งในชั้นเรียนและปฏิบัติจริงนอกชั้นเรียน ดังนั้นฝ่ายพัฒนาศักยภาพนิสิตและเครือข่ายศิษย์เก่าร่วมกับสโมสรนิสิต คณะมนุษยศาสตร์ จึงได้จัดโครงการจิตอาสาพัฒนาความรู้สู่ชุมชน (ค่ายเพื่อน้อง) แก่นิสิตคณะมนุษยศาสตร์นี้ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นิสิตได้ตระหนักถึงปัฯหาด้านการศึกษาการเรียนรู้ นอกจากนั้นยังส่งเสริมให้นิสิตใช้เวลาให้เป็นประโยชน์ในการพัฒนาสถานศึกษา โดนเรียนรู้และลงมือปฏิบัติจนเกิดความซาบซึ้ง เห็นคุณค่าของการมีจิตสำนึกสาธารณะและการเป็นพลเมืองดี ทั้งนี้ยังเป็นการทำงานอย่างมีระบบแบบแผน นำไปสู่กระบวนการทำงานที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในอนาคต โดยลักษณะกิจกรรมที่จัดขึ้นแบ่งเป็น 2 กิจกรรมหลักคือ การทำสื่อประกอบการเรียนการสอนเพื่อมอบให้กับโรงเรียน และการปรับปรุงพื้นที่บริเวณโรงเรียนให้เป็นพื้นที่สำหรับการเรียนรู้ เช่น การวาดรูปทาสีเป็นสื่อการเรียนรู้บนพื้นที่ทางเดินเพื่อสอนเกี่ยวกับคำภาษาอังกฤษและคำไทย หรือการวาดภาพตกแต่งบริเวณทางเดินเข้าอาคารเรียน และบริเวณพื้นที่ทานอาหาร เป็นต้น
ปัญหา-อุปสรรค
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค Covid-19 ทำให้ไม่สามารถดำเนินการจัดกิจกรรมที่มีความหลากหลายและใช้เวลากับพื้นที่ในการจัดโครงการได้หลายวัน อีกทั้งต้องจำกัดจำนวนคนที่เข้าร่วมโครงการ ส่งผลให้อาจจะต้องมีการดำเนินงานที่ค่อนข้างกระชับและเร่งให้จบภายในวันเดียวด้วยคนจำนวนจำกัดจึงอาจเป็นอุปสรรคต่อความเหนื่อยล้าและการเดินทางได้
ข้อเสนอแนะ
วิเคราะห์สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ Covid-19 หากความรุนแรงลดลงจนอยู่ในระดับที่สามารถใช้ชีวิตได้ตามปกติก็จะกลับมาจัดโครงการในรูปแบบที่นิสิตจะมีเวลาทำกิจกรรมจิตอาสาที่หลากหลายมากขึ้น มีเวลาทำกิจกรรมในพื้นที่ให้บริการนานมากขึ้น และสามารถเปิดรับนิสิตเข้าร่วมโครงการจำนวนมากขึ้น แต่หากสถานการณ์ยังคงรุนแรงต่อเนื่องก็อาจจะพิจารณารูปแบบที่จัดขึ้นโดยมีการชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับผู้เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกันที่ชัดเจน
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
1 มิถุนายน 2565 10:56