ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษสำหรับการอ่านและเขียนเชิงวิชาการ
ปีงบประมาณ
2565
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 - 2570
P1-11 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมพัฒนาการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning
P1-45 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมการพัฒนาอัตลักษณ์นิสิต มศว มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์และสมรรถนะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 (SWU SMART STUDENT)
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
P1-45
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้นิสิตมีความรู้ทักษะด้านภาษาอังกฤษสำหรับการอ่านและเขียนเชิงวิชาการ 2.เพื่อให้นิสิตมีทักษะในระดับเบื้องต้นสำหรับการอ่านและเขียนเชิงวิชาการ
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
คณาจารย์ นิสิต
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
หลักสูตร ศศ.ม. สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ได้จัดโครงการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษสำหรับการอ่านและเขียนเชิงวิชาการ ในวันที่ 4 ธันวาคม 2564 โดยวัตถุประสงค์เพื่อให้นิสิตมีความรู้ทักษะด้านภาษาอังกฤษสำหรับการอ่านและเขียนเชิงวิชาการ และมีทักษะในระดับเบื้องต้นสำหรับการอ่านและเขียนเชิงวิชาการ โดเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ความสามารถเป็นวิทยากรมาบรรยาย เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ ในการพัฒนาทักษะทางด้านภาษาอังกฤษสำหรับการอ่านและเขียนเชิงวิชาการให้กับนิสิต และนำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการไปประยุกต์ใช้จริงในงานวิจัย ปริญญานิพนธ์ ในสาขาสารสนเทศศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องที่เหมาะสมกับบริบทของตน รวมทั้งยังช่วยให้สาขาวิชาได้แนวทางพัฒนาการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและสนับสนุนให้สาขาวิชาและมหาวิทยาลัยตอบสนองตัวชี้วัดในการประกันคุณภาพการศึกษา
ปัญหา-อุปสรรค
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อโรค Covid-19 ทำให้ไม่สามารถจัดโครงการแบบเผชิญหน้าได้ ระหว่างการเรียนนิสิตมีส่วนร่วมค่อนข้างน้อยในการตอบคำถามในช่วงแรก เนื่องจากนิสิตยังไม่คุ้นชิน และยังไม่มั่นใจในการตอบคำถามและการตั้งข้อคำถาม
ข้อเสนอแนะ
วิเคราะห์ความต้องการของนิสิตเพื่อเชิญวิทยากรให้มาบรรยายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในหัวข้อที่สอดคล้องและตรงกับความต้องการของนิสิต การเพิ่มแรงจูงใจให้นิสิตในการมีส่วนร่วมกับวิทยากรให้มากกว่านี้
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
29 มีนาคม 2565 12:53