ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการฝึกอบรมภาษาไทยให้แก่อาจารย์ชาวต่างประเทศ คณะมนุษยศาสตร์ รุ่นที่ 1
ปีงบประมาณ
2562
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2563
SSAP5-35 โครงการพัฒนาอาจารย์
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565
SSAP4-06 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เกี่ยวกับการพัฒนาอบรมภาษาต่างประเทศสำหรับนิสิต/บุคลากร (ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน)
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
SSAP4-06
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
เพื่อพัฒนาทักษะสื่อสารภาษาไทยแก่อาจารย์ชาวต่างประเทศ (ศูนย์การศึกษานานาชาติ)
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
คณาจารย์
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
เป็นโครงการฝึกอบรมภาษาไทยให้แก่อาจารย์ชาวต่างชาติในคณะมนุษยศาสตร์ โดยแบ่งเป็น 2 หลักสูตร คือ 1 หลักสูตร Everyday Thai for Beginners สำหรับอาจารย์ชาวต่างชาติที่ไม่มีพื้นความรู้ภาษาไทยมาก่อน หรือมีระดับพื้นฐาน โดยเน้นทักษะการฟัง-พูด และฝึกเขียนพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ในภาษาไทย และ 2 หลักสูตร Reading and Writing สำหรับอาจารย์ชาวต่างชาติที่มีความรู้ภาษาไทยในระดับปานกลาง (intermediate level) โดยฝึกให้ผู้เข้าอบรมอ่านจับใจความ ตีความประโยค รู้จักคำศัพท์ สำนวนต่างๆ ในภาษาไทย และฝึกเขียนเรียงความประเภทต่างๆ เช่น การบรรยาย การเปรียบเทียบ การแสดงความคิดเห็น ก่อนอบรมได้ให้ผู้เข้าอบรมทุกคนทำแบบทดสอบก่อนเรียนเพื่อประเมินทักษะทางภาษาของแต่ละบุคคล และหลังสิ้นสุดการอบรม ผู้เข้าอบรมต้องทำแบบทดสอบอีกครั้งเพื่อประเมินพัฒนาการทางการเรียน
ปัญหา-อุปสรรค
เนื่องจากอาจารย์ชาวต่างชาติที่เข้ารับการอบรมมีเวลาว่างไม่ตรงกัน ทำให้ยากแก่การจัดตารางเรียน นอกจากนี้ทักษะภาษาไทยของผู้เข้ารับการอบรมในหลักสูตร Reading and Writing ค่อนข้างต่างกันมาก ทำให้ไม่สามารถอธิบายเนื้อหาไปพร้อมๆกันได้ ต้องแยกอธิบายเป็นรายกลุ่ม และรายบุคคล
ข้อเสนอแนะ
พยายามจัดเวลาเรียนให้ตรงกับเวลาว่างของอาจารย์ชาวต่างประเทศ โดยอาจปรับเปลี่ยนการสอนเป็นแบบ private class หรือแบ่งกลุ่มผู้เรียนให้ย่อยกว่านี้
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
4 กันยายน 2562 16:09