ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการคิดวิเคราะห์ แยกแยะ แลวัฒนธรรม
ปีงบประมาณ
2562
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2563
SSAP1-01 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
SSAP5-05 โครงการบูรณาการงานกิจกรรมนิสิตกับรายวิชา
SSAP5-28 โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565
SSAP1-08 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่แสดงการบริหารจัดการของหลักสูตรให้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active larning
SSAP5-07 โครงการบูรณาการงานกิจกรรมนิสิตกับรายวิชา
SSAP5-30 โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
SSAP5-30
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 ส่งเสริมในนิสิตพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ 2 นิสิตซึมซับการศึกษาความแตกต่างทางวัฒนธรรมโดยไม่ยึดติดกับภาพเหมารวม มีความชื่นชมและชื่นชอบในความแตกต่างของวัฒนธรรมอื่นๆมากขึ้น 3 เพื่อบูรณาการกับรายวิชาในหลักสูตร 4 นิสิตเข้าใจวิธีการทำงานและการเรียนรู้แบบเป็นวิชาการมากขึ้น มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
อาจารย์ บุคลากรสนับสนุนทางวิชาการ นิสิตปริญญาตรี วิทยากร
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
เชิญวิทยากรบรรยายในหัวข้อ "Crossing Borders" และ "Transcultural Literary Studies" ส่งเสริมให้นิสิตเรียนรู้วิธีการคิด วิเคราะห์ วรรณกรรม ภายใต้หัวข้อ "Crossing Borders" การก้าวข้ามเพศ ภาษา วัฒนธรรม สื่อ ฯลฯ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ และเข้าใจความเป็นมนุษยศาสตร์มากขึ้น
ปัญหา-อุปสรรค
1 การจัดโครงการครั้งนี้ต้องเชิญวิทยากรมาจากต่างจังหวัด สิ่งที่เป็นปัญหาอันดับแรกเลยคือการเบิกจ่ายค่าเดินทาง ซึ่งไม่สามารถเบิกจ่ายให้วิทยากรที่อยู่จังหวัดใกล้เคียงได้ เนื่องจากหลักการเบิกอณุญาตให้วิทยากรมาโดยรถบัสเท่านั้น แต่การเดินทางโดยรถบัสจะไม่สะดวกสำหรับวิทยากร ในจังหวัด เช่น นครปฐม นอกจากนั้นแล้วการเบิกจ่ายค่าตั๋วเครื่องบินสำหรับวิทยากรในจังหวัดห่างไกล มีความลำบากในการส่ง Boarding pass ขากลับ 2 การจัดหาห้องสำหรับดำเนินโครงการเป็นไปด้วยความยากลำบาก เนื่องจากเป็นวันที่หลายหลักสูตรจัดโครงการพร้อมกันและมีนิสิตที่เข้าร่วมจำนวนมาก ทำให้ห้องในคณะมนุษยศาสตร์รองรับได้ไม่เพียงพอ อีกทั้งห้องสมุดปิดปรับปรุงอาคารกระทันหัน ทำให้เบื้องต้นการขอใช้ห้องถูกระงับ อย่างไรก็ตาม เจ้าหน้าที่คณะมนุษยศาสตร์สามารถประสานงานให้จนกระทั่งได้ห้องที่ต้องการ และ มีอุปกรณ์พร้อม
ข้อเสนอแนะ
โครงการคิดวิเคราะห์ แยกแยะ วัฒนธรรม ได้จัดขึ้นเป็นปีที่ 3 โดยในครั้งแรกเป็นความร่วมมือของหลักสูตร ศศ.บ.ภาษาไทย และ ศศ.บ.ภาษาอังกฤษ ในการอบรมเรื่องวัฒนธรรมให้แก่นิสิต ครั้งที่ 2 เป็นการนำนิสิตออกจากห้องเรียน ไปยังพิพิธภัณฑ์มิวเซียมสยาม และเชิญวิทยากรให้ความรู้เรื่องความแตกต่างระหว่างอารยธรรมไทยและตะวันตก ในครั้งที่ 3 นี้โครงการฯ ได้ก้าวข้ามไปอีกขั้น โดยส่งเสริมให้นิสิตเรียนรู้เรื่องการวิเคราะห์วัฒนธรรมและวรรณกรรมแบบเปรียบเทียบ ส่งเสริมความรู้ด้านการทำงานวิชาการ โครงการฯ ยังมีความเปิดกว้างมากขึ้นโดยเชิญวิทยากรมาจากต่างมหาวิทยาลัยมาร่วมสอนและแลกเปลี่ยนความรู้กับนิสิตในหลักสูตรฯ
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
4 กันยายน 2562 16:14