ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการสอนภาษาตะวันออกเพื่อบริการชุมชน
ปีงบประมาณ
2562
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2563
SSAP5-03 โครงการส่งเสริมจิตสำนึกสาธารณะแก่นิสิต
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ (Strategic Action Plan-SAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2563
SAP1 การประเมินโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 - 2565
SSAP5-03 โครงการสร้างจิตสำนึกด้านคุณธรรม จริยธรรมในนิสิต
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
SSAP5-03
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
SDG 4 การศึกษาที่เท่าเทียม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้นิสิตมีโอกาสนำความรู้และทักษะทางภาษาในสาขาวิชาที่เรียนไปใช้ปฏิบัติงานจริง และบูรณาการเข้ากับการเรียนรายวิชา 2. เพื่อให้นิสิตมีความตระหนักในด้านทักษะสื่อสาร 3. เพื่อสร้างเครือข่าย ส่งเสริมการแบ่งปันความรู้ และเสริมสร้างความสัมพันธ์แก่สมาชิกในสังคม
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
คณาจารย์ นิสิต บุคคลภายนอก
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
1.นิสิตปฏิบัติการภาคสนาม เดินทางไปโรงเรียนในชุมชน เพื่อสอบถามลักษณะความต้องการและปัญหาในการเรียนภาษาตะวันออกของโรงเรียน 2.นิสิตบรรยายสรุปปัญหาและความต้องการในการเรียนภาษาของโรงเรียนในชุมชนและอบรมเชิงปฏิบัติการ วางแผนการสอน 3.นิสิตฝึกปฏิบัติการสอนจริง ปรับปรุงการสอน 4.นิสิตปฏิบัติการสอน ณ โรงเรียนชุมชน
ปัญหา-อุปสรรค
ลักษณะกิจกรรมของโครงการนี้มีลักษณะต่อเนื่องกันเป็น 4 ระยะ ได้แก่ นิสิตสำรวจปัญหาและความต้องการในการเรียนภาษาตะวันออกของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา การอบรมเชิงปฏิบัติการในการวางแผนการสอนและทดลองสอนก่อนปฏิบัติการสอนจริง และออกไปปฏิบัติการสอนจริง ณ โรงเรียนมัธยมศึกษา การจัดโครงดารจะต้องคำนึงถึง ช่วงระยะเวลาที่ทั้งนิสิตคณาจารย์ มศว และครูนักเรียนในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาสะดวกตรงกัน ซึ่งมีช่วงเวลาดังกล่าวค่อนข้างประหยัดมาก เนื่องจากมีช่วงเวลาเหลื่อมระหว่างเปิดปิดภาคการศึกษาไม่ตรงกัน
ข้อเสนอแนะ
โครงการสอนภาษาตะวันออกเพื่อบริการชุมชนที่ผ่านมา ในด้านเนื้อหาที่ใช้สอน จะสอนไวยากรณ์บ้าง สอนความเป็นมาของวัฒนธรรมที่แตกต่างกันที่สะท้อนออกมาที่ตัวภาษาบ้าง เช่น การแต่งกาย มารยาทการใช้รถไฟฟ้า อาหารตามฤดูกาล เป็นต้น หากการดำเนินงานในครั้งต่อไปสามารถสอนเทคนิคการอ่านให้แก่ชุมชน โดยคัดเลือกบทความที่สะท้อนวัฒนธรรมที่แตกต่างจากบทอ่าน เป็นการฝึกการเรียนรู้ที่จะยอมรับความคิด ความเห็นต่างอีกทางหนึ่งด้วย ในด้านการจัดการ คิดว่าการสำรวจปัญหาและความต้องการของชุมชนยังเป็นสิ่งสำคัญ อาจใช้เทคโนโลยีช่วยในการจัดการ เช่น ให้ชุมชนตอบแบบสอบถามปัญหาและความต้องการทางออนไลน์ ซึ่งจะทำให้โครงการสามารถใช้เวลาในการนำนิสิตไปเยือนชุมชนทำกิจกรรมหลัก อันได้แก่การบริการการสอนให้แก่ชุมชนได้มากขึ้น
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
พุฒวิทย์ บุนนาค
โทร
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
27 กันยายน 2562 13:44