ระบบติดตามยุทธศาสตร์ (SWU-SAP)
เข้าสู่ระบบ
โครงการคณะมนุษยศาสตร์
ย้อนกลับ
พิมพ์
ลบโครงการ ติดต่อส่วนแผนและยุทธศาสตร์
ชื่อโครงการ/กิจกรรม
โครงการ นิสิตจิตอาสาเพื่อบำบัดฟื้นฟูผู้ป่วย กลุ่ม Office syndrome ด้วยวิถีการฟื้นฟูด้วยตนเอง
ปีงบประมาณ
2561
ความสอดคล้องแผนยุทธศาสตร์
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์หลัก (Super Strategic Action Plan-SSAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2563
SSAP1-02 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมเกี่ยวกับการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคม
SSAP5-03 โครงการส่งเสริมจิตสำนึกสาธารณะแก่นิสิต
SSAP5-04 โครงการสร้างจิตสำนึกด้านคุณธรรม จริยธรรมในนิสิต
SSAP5-05 โครงการบูรณาการงานกิจกรรมนิสิตกับรายวิชา
SSAP5-28 โครงการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
SSAP5-37 การสร้างแผนปฏิบัติการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการสร้างเสริมสุขภาวะในองค์กร (Happy Workplace)
แผนปฏิบัติการยุทธศาสตร์ (Strategic Action Plan-SAP) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 - 2563
SAP1 การประเมินโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม
SAP2 โครงการถ่ายทอดองค์ความรู้และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชน
SAP3 โครงการเผยแพร่ผลงานบริการวิชาการแก่ชุมชนทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย
SAP7 โครงการอนุรักษ์สืบสานและสร้างสรรค์วัฒนธรรมและศิลปะ
SAP9 โครงการผลิตแผนงานวิจัยหรือนวัตกรรมสร้างสรรค์ด้านทำนุบำรุงวัฒนธรรมและศิลปะ
งบประมาณสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
SAP2
ความสอดคล้อง SDG
ดูเพิ่มเติม
งบประมาณ
แหล่งงบประมาณ
ประเภทงบประมาณ
งบประมาณที่ได้รับ
งบประมาณที่ใช้จริง
รวม
ใช้จริง
ไตรมาส 1
ไตรมาส 2
ไตรมาส 3
ไตรมาส 4
{{ budget.BudgetSource.budget_source }}
{{ budget.BudgetSource.title }}
{{ budget.expense | numeral }}
เลือกแหล่งงบประมาณ
{{ source.BudgetSource.budget_source }} - {{ source.BudgetSource.title }}
รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม
สถานะการดำเนินโครงการ
แล้วเสร็จ
กำลังดำเนินการ
ชะลอ
ไม่ดำเนินการ
ยกเลิก
ระยะเวลาดำเนินโครงการ
ตั้งแต่
ถึง
วัตถุประสงค์
1 เพื่อให้ผู้ป่วย Office Syndrome มีความสามารถบำบัดฟื้นฟูตนเอง ด้วยนวดไทยที่ได้รับการพัฒนาโดย มศว 2 เพื่อให้ผู้ป่วย Office Syndrome มีความสามารถในการใช้ร่างกายในชีวิตประจำวันได้ดีขึ้น 2.3 เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ในการบำบัดผู้ป่วย Office Syndrome ด้วยนวดไทยที่ได้รับการพัฒนาโดย มศว กับบุคลากรของโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ 4 เพื่อให้นิสิตเกิดจิตอาสาและบำเพ็ญตนเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วย 5 เพื่อให้นิสิตเกิดจิตอาสาและบำเพ็ญตนเป็นประโยชน์ต่อประชาชนทั่วไปที่มีปัญหาด้านสุขภาพ 6 เพื่อให้นิสิตพัฒนาปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วย 7 เพื่อพัฒนาทักษะการบำบัดฟื้นฟูตนเองและผู้ป่วยด้วยการนวดไทยของนิสิต 8 เพื่อปรับปรุงรายวิชา การปฏิบัติไทเก๊ก และรายวิชาปรัชญาอินเดีย ในหลักสูตรปรัชญาและศาสนา 9 เพื่อต่อยอดงานวิจัยสู่การให้บริการแก่ชุมชน 10 เพื่อให้นิสิตตระหนักถึงด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ด้านการเคารพผู้อาวุโส
ตัวชี้วัดโครงการ
เพิ่มตัวชี้วัด
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าร่วมโครงการ
คณาจารย์ นิสิตปริญญาตรี บุคคลภายนอก
จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
เป้าหมาย
คน เข้าร่วมจริง
คน
ร้อยละ {{ projectMaster.attendee_percent | numeral }}
สรุปผลดำเนินงาน
1. มีเนื้อหาหมวดการพัฒนาจิตและการฟื้นฟูสุขภาพอยู่ในการเรียนการสอน มีการนำแนวทางการฟื้นฟูผู้ป่วยของโครงการวิจัยมาใช้ 2. นิสิตที่เข้าร่วมโครงการมีความรู้และทักษะในการดูแลตนเอง เฉลี่ยระดับ 4.16 3. ผู้ป่วยที่รับบริการออกหน่วยมีความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพด้วยการพึงพิงตนเอง เฉลี่ยระดับ 4.30 4. ผู้ป่วยที่เข้ารับการฟื้นฟูมีความสามารถในการใช้ร่างกายดีขึ้น เฉลี่ยระดับ 4.13 5. นิสิตที่เข้าร่วมโครงการมีจิตสาธารณะ เฉลี่ยระดับ 4.33 6. ความสำนึกในคุณค่าของศิลปและวัฒนธรรมไทยของนิสิตที่เข้าร่วมโครงการ เฉลี่ยระดับ 4.58 7. ทักษะของบุคลากรของโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการในการเป็นนักบำบัดฟื้นฟูด้วยนวดไทยที่ได้รับการพัฒนาโดย มศว เฉลี่ยระดับ 5
ปัญหา-อุปสรรค
นิสิตไม่คุ้นกับวิชาการการนวด
ข้อเสนอแนะ
คัดเลือกเฉพาะนิสิตที่มีความสนใจ
เอกสารแนบ
เพิ่มเอกสารอ้างอิง
ผู้รายงานผล
ญานิศา ลากูล
โทร
16280 , 16206
วัน/เวลาแก้ไขล่าสุด
31 สิงหาคม 2561 09:52